Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anorexia nervosa - Coggle Diagram
Anorexia nervosa
-
2.2 เกณฑ์การวินิจฉัยโรค ตาม DSM 5 หรือ ICD 10 หรือ ICD 11
และเปรียบเทียบเกณฑ์การวินิจฉัยนั้นกับกรณีศึกษา
-
-
2.4 การรักษา และการเปรียบเทียบกับการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ (อธิบายรายละเอียดของการรักษา กรณียาที่ผู้ป่วยได้รับให้)
-
-
-
-
- จิตบําบัดระดับต้น (Superficial Psychotherapy) เน้นการบําบัดเบื้องต้น 3 ลักษณะ คือ
- จิตบําบัดแบบประคับประคอง(Supportive psychotherapy) เน้นการพูดคุยและบําบัดช่วยเหลือประคับประคองเบื้องต้น
- จิตบําบัดเน้นการระบายปัญหา (Superficial expressive psycho-therapy) เน้นการระบายปัญหา ความทุกข์ ความคับข้องใจ
- จิตบําบัดเน้นการกดเก็บ (Suppressive psychotherapy) เน้นการให้ข้อเสนอแนะ เพื่อลด ภาวะเครียด ความวิตกกังวล และปัญหาที่ไม่ลึก
ลักษณะของการทําจิตบําบัด แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
- จิตบําบัดรายบุคคล
- จิตบําบัดกลุ่ม
จิตบําบัดรายบุคคล (Individual Psychotherapy) ความหมาย
จิตบําบัดรายบุคคล เป็นการรักษาทาง จิตชนิดหน่ึง ด้วยการท่ีผู้บําบัดรักษาพูดคุยกับผู้ป่วยเป็นรายบุคคล ผู้บําบัดรักษา วิเคราะห์สภาพ ปัญหา หาสาเหตุของปัญหาและร่วมกันในการแก้ไขสิ่งที่เป็นปัญหา หรือความทุกข์ความคับ ข้องใจของผู้ป่วย โดยผู้บําบัดใช้ทฤษฎีหลายทฤษฎี เช่น
- ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) เช่น Free-association (ระบายความในใจหรือบอก ความคิด ความฝันของตนให้จิตแพทย์ฟัง), Dream interpretation(เน้นการให้ผู้ป่วยเล่าความฝันและผู้รักษาดีความจากความฝัน), Transference(เน้นการโอนถ่ายความรู้สึกไปยังบุคคลอื่น)
- ทฤษฎีกลุ่มมนุษย์นิยม(Humanistic) เช่นgestalt therapy, Reality Therapy, Rational emotive Therapy
- ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) การใช้การเสริมแรง การลงทษและการใช้แบบอยาง
-
-
2.6 วางแผนการพยาบาลผู้ป่วยตามกรณีศึกษา โดยระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลครอบคลุมทุกปัญหาของกรณีศึกษา พร้อมข้อมูลสนับสนุน วัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมิน และกิจกรรมการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากมีพฤติกรรมการกินและพฤติกรรมการ ออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสม
ข้อมูลสนับสนุน
SD: รับประทานอาหารได้น้อย BMI = 12.30 kg/m2 OD: รับประทานอาหารวันละ 2 มื้อ แต่ละมื้อรับประทานน้อยลงบอกว่าไม่หิวและอยากให้น้ำหนักลด
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย BMI = 18.6_24 km/m2
เกณฑ์การประเมินผล : ผู้ป่วยมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 0.5 กิโลกรัมต่อสัปดาห์
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
2.ดูแลอาหารและการรับประทาน ประเมินความต้องการด้านโภชนาการ ดูแลให้ได้รับอาหารที่มี คุณค่าและดีต่อสุขภาพ (แนะนำ ไฟเบอร์ 18-25 กรัมต่อวันจากพรุน ผักใบเขียว ขนมปังโฮลวีตและอาหารที่มีแคลเซียมสูง ขนม และเครื่องดื่ม ปริมาณเล็กน้อยแต่บ่อยครั้ง ) ควบคุมปริมาณแคลอรี่ที่ได้รับ เพื่อให้มีน้ำหนักเพิ่ม ขึ้นประมาณ 0.5 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ โดยในระยะแรกไม่ควรให้เพิ่มน้ำ หนักอย่าง รวดเร็ว เพื่อป้องกันการขยายตัวของกระเพาะ การบวม และอาจมีหัวใจล้มเหลว
3.ชั่งน้ำหนักสัปดาห์ละ1ครั้ง และประเมินค่าBMIรายงานแพทย์เมื่อพบว่ามีน้ำหนักเกินร้อยละ10ของค่าปกติ
4.บันทึกประจำวันเกี่ยวกับชนิดของอาหาร ความถี่ในการรับประทานอาหาร ความรู้สึกที่เกิดขึ้นขณะรับประทานอาหาร
5.เน้นการรับประทานอาหารผัก และผลไม้ อาหารที่มีกากใยสูง ลดอาหารประเภท ไขมัน คาร์โบไฮเดรต
6.อธิบายสาเหตุของอาการคลื่นไส้อาเจียน และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถาม
7.ดูแลให้ได้รับยา Omeprazole ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ออกฤทธิ์ช่วยลดการหลั่งของกรดในกระเพาะอาหารใช้รักษาอาการต่างๆที่เกิดจากกรด เช่น หลอดอาหารอักเสบ โรคกรดไหลย้อน และ multivitamin รักษาหรือป้องกันการขาดวิตามินในร่างกาย ใช้เมื่อมีการได้รับVitamin หรือแร่ธาตุที่ไม่มีเพียงพอ จากการรับประทานอาหาร
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.รับรู้ภาพลักษณ์ตนเองไม่เป็นไปตามความเป็นจริงเนื่องจากหมกมุ่นอยู่กับรูปร่างและน้ำหนักตัวเอง
ข้อมูลสนับสนุน
SD: ผู้ป่วยเป็นคนเครียดง่าย จริงจังกับทุกเรื่อง รักสวยรักงาม ชอบการแต่งตัว
OD: ผู้ป่วยอ่านหนังสือหนักเพื่อเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย และซ้อมเต้นเตรียม การประกวดเต้น ผู้ป่วยจริงจังและเครียดกับเรื่องนี้มาก และยิ่งเครียดมากขึ้นเมื่อเพื่อนสนิทมากมีแฟนและห่างจากผู้ป่วยไป ผู้ป่วยซ้อมเต้นทุกวันวันละ5-6 ชั่วโมง และคิดว่าอ้วน ต้องการลดน้ำหนักและเข้มงวดกับอาหารที่กินมากขึ้น จนน้ำหนักลดลงจาก 51 กิโลกรัม เหลือ 31.5 กิโลกรัม
วัตถุประสงค์ :-ผู้ป่วยพึ่งพอใจกับรูปร่างที่เป็นอยู่และมีน้ำ หนักตามเกณฑ์ปกติ BMI = 18.6-24 km/m2
-ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่ามากขึ้น
เกณฑ์การประเมิน: -ปรับเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาให้ตรงกับทัศนคติ
-ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างและน้ำหนัก
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างส้มพันธภาพโดยหลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยคำที่แสดงออกถึงอาการตกใจ
2.แนะนำหลักการเลือกทำทีละอย่างสอนวิธีการระงับอารมณ์ตัวเอง ฝึกจิตใจให้ร่าเริง แนะนำให้หากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ทำ เช่น การทำสมาธิ การสูดหายใจ เข้าออกลึกๆยาวๆ การฟังเพลง
3.รับฟังและแสดงท่าทีที่ยอมรับพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออกด้วยความเห็นอก เห็นใจ
4.ช่วยให้ผู้ป่วยค้นหาปัญหาโดยพยาบาลและผู้ป่วยร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและให้ผู้ป่วยเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมกับตนเอง
-
-