Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 การดำเนินงานอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
หน่วยที่ 5 การดำเนินงานอนามัยชุมชน
การประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาล ในการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน
ในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการพยาบาลมาใช้ในการ ดูแลสุขภาพในโรงเรียน ผู้เขียนได้นาเอาทฤษฎี การพยาบาลของไนติงเกล (Nightingale’s Theory)
1.บุคคลประกอบด้วยมิติทางชีวจิตและสังคมมีความเกี่ยวพันกับสิ่งแวดล้อม
2.สุขภาพ สุขภาพจะผูกพันกับสิ่งแวดล้อม
3.สิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อชีวิตและพัฒนาการ
4.การพยาบาล เป็นการจัดสิ่งอำนวยให้เกิดกระบวนการหายด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด
แนวคิด และหลักการของการอนามัยโรงเรียน
1.1 ความหมาย และความ สำคัญของการอนามัยโรงเรียน
กิจกรรมหรือการดำเนินงานที่ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ การป้องกัน การรักษา การแก้ไขปรับปรุง และการส่งเสริมสุขภาพของ บุคคลทุกคนในโรงเรียนให้มีสุขภาพ ดี ดารงอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข
1.2 ขอบเขต และเป้าหมายของการ อนามัยโรงเรียน
1.2.1 ขอบเขตของการอนามัยโรงเรียน มี 4 ข้อ
1) ป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อภายในโรงเรียน
2) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
3) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
4) การควบคุมโรคติดต่อโดยการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โดยการให้ภูมิคุ้มกันแก่เด็กในโรงเรียน
1.2.2 เป้าหมายของการอนามัยโรงเรียน
การจัดโครงการจัดบริการสุขภาพใน โรงเรียนจะครอบคลุม กิจกรรมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูแลรักษา และพื้นฟู สุขภาพ การที่ครอบครัว และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
1.3 การบริการอนามัยโรงเรียน
การบริการอนามัยโรงเรียนในปัจจุบัน ดำเนินงาน
ตามแนวคิดของ “โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ”
การให้บริการอนามัยโรงเรียนในสถานการณ์ต่าง ๆ
3.1 การสร้างผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ประกอบด้วยผู้นานักเรียนฝ่ายส่งเสริม อนามัย
ในโรงเรียนประถมศึกษา เรียกว่า “อาสา
สมัครสาธารณสุขในโรงเรียน” (อสร.) และใน
โรงเรียน มัธยมศึกษา เรียกว่า “ผู้นำเยาวชน สาธารณสุขในโรงเรียน” (ยสร.)
3.2 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
หน้าที่ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ต้องจัดบริการให้นักเรียน เพื่อป้องกันโรคที่เกิด จากเชื้อโรค 10 ชนิด ซึ่งเป็นโรคที่ป้องกันได้ด้วย วัคซีน ได้แก่ วัณโรค (Tuberculosis) ตับอักเสบบี (Hepatitis B) คอตีบ (Diphtheria) ไอกรน (Pertussis) บาดทะยัก (Tetanus) โปลิโอ (Polio) คางทูม (Mump) หัด (Measles) หัดเยอรมัน (Rubella)และไข้สมองอักเสบ
3.3 การประเมินภาวะสุขภาพ
3.4 การปรับปรุงการสุขาภิบาลสิ่ง แวดล้อม และการสุขาภิบาลอาหาร
3.5 การให้สุขศึกษาในโรงเรียน
3.6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และ กลวิธีในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การกระบวนเพื่อให้ประชาชนเพิ่ม ความสามารถในการควบคุมและ สร้างเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม (Ottawa Charter) นอกจากนั้น Green & Kreuter ได้ให้ความหมายของการส่งเสริมสุขภาพ
แนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภา
นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตนเองและผู้อื่น
ตัดสินใจและควบคุมสภาวการณ์และ
สิ่งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ
กลวิธีในการดำเนินงานโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพ
องค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทบาทหน้าที่พยาบาลในการให้บริการอนามัยโรงเรียน
1) บทบาทการเป็นผู้ดูแลโดยตรง (Direct care)
2) บทบาทเป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
3) บทบาทเป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยหรือให้สุขศึกษา (Health educator)
4) บทบาทด้านการดูแลรายกรณี (Case manager)
5) บทบาทเป็นที่ปรึกษา (Consultant)
6) บทบาทเป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
7) บทบาทเป็นผู้วิจัย (Researcher)
พยาบาลอนามัยชุมชนมีหน้าที่รับผิดชอบต่อสุขภาพ อนามัยของนักเรียนซึ่งจะต้องให้การดูแล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษาพยาบาล