Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Bipolar II disorder, กรณีศึกษา 7
ผู้ป่วยหญิงอายุ 25 ปีเพื่อนพามาพบแพทหล…
Bipolar II disorder
หลักการพยาบาล
3) การจัดการกับผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมรุนแรง ในผู้ป่วยซึมเศร้า ประเมินพฤติกรรมอันตราย เช่น หลบหนีออกจากโรงพยาบาล ร้ายตนเอง/ผู้อื่น หรือทำลายสิ่งของ
4) การรับประทานอาหารผู้ป่วยชีมเศร้าจะรับประทานอาหารน้อย เบื่ออาหาร/อาจรับประทานอาหารมากเกินไป ควรจัดอาหาร
ให้เหมาะสมกับพลังงานที่ควรได้รับและอยู่เป็นเพื่อนขณะรับประทานอาหาร
2) ป้องกันการฆ่าตัวตายการประเมินขั้นแรก คือ การประเมินความเสี่ยงทั้งผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคอารมณ์สองขั้ว ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและคนอื่นๆ โดยอาศัยสัมพันธภาพที่ดีการสังเกตและการสนทนา ให้ผู้ป่วยอยู่ใกล้ห้องพยาบาล จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย เก็บสิ่งของวัตถุที่อาจใช้ทำร้ายตนเองให้หมดไป
5) การพักผ่อน ผู้ป่วยซึมเศร้าอาจใช้พลังงานน้อย นอนมากหรือนอนหลับได้แต่ไม่ดี พยาบาลควรกระตุ้นให้
ผู้ป่วยใช้เวลากับกิจกรรมแทนการแยกตัวซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยผ่อนคลายได้
1) สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่ยอมรับและเข้าใจ จะช่วยให้ผู้ป่วยมั่นใจที่จะเปิดเผยความคิดและความรู้สึกออกมา
6) ส่งเสริมกระบวนการคิดหลังจากที่ได้รับยามาระยะหนี่ง ช่วงนี้ผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษาที่ไม่ต้องใช้ยาได้ดีผู้ป่วยซึมเศร้าพยาบาลจะต้องกระตุ้นให้เข้าร่วมกิจกรรมและติดต่อกับเพื่อนในหอผู้ป่วยในกลุ่มเล็กๆ
ก่อน จัดสิ่งแวตล้อมให้สบายและมีสิ่งกระตุ้นน้อย
7) การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางอารมณ์จะรู้สึกคุณค่าในตนเองต่ำ พยาบาลต้องกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึกเหล่านี้ ส่งเสริมให้แสดงพฤติกรรมทางบวก แสดงจุดแข็งผ่านทางต้องกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึกเหล่านี้ ส่งเสริมให้แสดงพฤติกรรมทางบวก แสดงจุดแข็งผ่านทาง
8) ส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมผู้ป่วยชีมเศร้า ที่มีพฤติกรรมเชื่องช้า รู้สึกหดหู่ เบื่อหน่าย และไร้ค่า ให้ทำกิจกรรมและมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น เพื่อเกิดสัมพันธภาพที่ดีทางสังคม และเห็นคุณค่าในตัวเอง
9) ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพที่ดีและเเหมาะสมกับบุคคลอื่นผู้ปวย์ซึมเศร้า ควรส่งเสริมใหได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากขึ้น กล้ำาพูดกล้าแสดงออก
10) ช่วยผู้ป่วยให้ได้ทำความเข้าใจความคิดความรู้สึกที่มีต่อตนเอง ทั้งความคิด ความรู้สึกด้านลบในผู้ป่วยที่มีอารมณ์เศร้า ให้กลับมาคิดตรงตามความเป็นจริง โดยการสนทนาและจัดกิจกรรมให้ผู้ป่วยอยู่กับเหตุการณ์ปัจจุบันผู้ป่วยซึมเศร้า ควรกระตุ้นให้คิดพิจารณาส่วนดีของตน และจากความสำเร็จในการร่วมกลุ่มกิจกรรม
11) ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการบำบัตรักษาและรับผิดชอบการกระทำด้วยตนเองโดยสนับสนุนให้บอกเล่า
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับทีมการรักษา
12) ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติกี่ยวกับโรค การบำบัดรักษา การดูแลตนเอง เพื่อจะได้มีความรู้ในการดูแตนเอง
ร่วมมือในการรักษา และลดความรู้สึกผิดบาปหรือความรู้สึกไม่ดีต่อการเจ็บป่วย
13) ช่วยผู้ป่วยค้นหาบุคคลหรือแหล่งที่พึ่งพาในการช่วยเหลือดูแลเมื่อกลับไปใช้ชีวิตที่บ้าน และสังคมตามปกติ
เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
-
-
-
-
-
ความผิดปกติทางอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 1 ครั้ง และมีหรือเคยมีอาการในระยะ Hypomania อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยไม่เคยมีอาการระยะ mania
กรณีศึกษา 7
ผู้ป่วยหญิงอายุ 25 ปีเพื่อนพามาพบแพทหลังจากพยายามกระโดดสะพานเพื่อฆ่าตัวตาย 30 นาที ก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยรู้สึกอยากตายหลังมีปากเสียงกับคนรัก แต่อีกใจก็รู้สึกเป็นห่วงครอบครัวกลัวจะควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้จึงโทรศัพท์เรียกเพื่อนให้มารับและพามาพบแพทย์
7 ปีก่อนเคยเครียดมากเรื่องเรียนร้องไห้ทุกวันแล้วค่อยๆดีขึ้นเองจนเป็นปกติ
3 ปีก่อนรู้สึกอารมณ์ดีมากมีพลังเรี่ยวแรงมากขยันมั่นใจในตัวเองคุยเก่งขึ้นซื้อของและใช้จ่ายเงินมากขึ้น
1 เดือนก่อนผู้ป่วยมีอารมณ์เศร้าเบื่อหน่ายท้อแท้เป็นเกือบทั้งวันนอนหลับๆตื่น ๆ เบื่ออาหารน้ำหนักลด 3 กิโลกรัมในช่วง 3 สัปดาห์ไม่มีสมาธิ ไม่อยากคุยกับใคร รู้สึกตัวเองไม่มีค่า ไม่สมควรมีชีวิตอยู่ คิดวนเวียนเรื่องที่
ครอบครัวไม่ยอมรับคนรักร้องไห้บ่อยน้อยใจว่าบิดามารดาไม่รัก
ปฏิเสธอาการหูแว่วหวาดระแวงมีความคิดอยากตายมีประวัติญาติทางบิดาฆ่าตัวตายสำเร็จ
ปฏิเสธการใช้สารเสพติด
-