Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระเพาะปัสสาวะทำงานผิดปกติจากระบบประสาท (Neurogoenic bladder), ยา -…
กระเพาะปัสสาวะทำงานผิดปกติจากระบบประสาท
(Neurogoenic bladder)
การพยาบาล
3.การตรวจการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างความดันของกระเพาะปัสสาวะเเลพปริมาณของกระเพาะปัสสาวะระหว่างช่วงเก็บกักปัสสาวะ
2.การตรวจการทำงานของกระเพาะปัสสาวะพร้อมการตรวจการไหลของปัสสาวะเพื่อศึกษาความผิดปกติในช่วงขับถ่ายปัสสาวะร่วมด้วย
4.การตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อหูรูดและกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานอุปกรณ์ในการตรวจนั้นมี 2ชนิด ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจชนิดแผ่นแปะผิวหนังและชนิดเข็ม หรือลวด
1.การตรวจการทำงานของกระเพาะปัสสวะร่วมกับการถ่ายรังสีทัศน์ เพื่อศึกษาการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ หูรูดท่อปัสสาวะ
ระบบที่ควบคุมทางเดินปัสสาวะส่วนล่างประกอบด้วย
2.สมองส่วน(pone) เป็นที่ตั้งของศูนย์ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุมการทำงานของประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะและการคลายตัวของหูรูดโดยให้ทั้งสองส่วนนี้ทำงานประสานกัน
1.สมองส่วนหน้า(Trontol lobe) มีหน้าที่รับรู้ความรู้สึกจากกระเพาะปัสสาวะว่ามีการปวดปัสสาวะและอยากถ่ายแล้ว
3.ไขสันหลัง(spinal cord) เป็นทางผ่านของกระแสประสาททั้งส่วนที่รับความรู้สึก(afferent) และที่ควบคุมกล้ามเนื้อทั้งกล้างเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อลาย
ความหมาย
กระเพาะปัสสาวะทำงานผิดปกติจากระบบประสาท (Neurogenic Bladder) เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในทางการแพทย์และเป็นสาเหตุสำคัญของคุณภาพชีวิตที่ลดลง การสูญเสียการทำงานของไตและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ สาเหตุของกระเพาะปัสสาวะทำงานผิดปกติจากระบบประสาทมีตั้งแต่ความผิดปกติแต่กำเนิด การผ่าตัด การบาดเจ็บ
อาการ
ปัสสาวะไม่ออก
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะควบคุม
ปัสสาวะราด
อาการขับถ่ายปัสสาวะออกได้ไม่หมด บางคนสามารถรับรู้ได้ว่าหลังปัสสาวะเสร็จแล้วยังมีปัสสาวะเหลือค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
ปวดปัสสาวะแบบเร่งรีบ
การทำงานของระบบเดินปัสสาวะส่วนล่างในภาวะปกติ
2.ระยะที่กระเพาะปัสสาวะเต็ม pelvic nerve จะส่งกระแสประสาทผ่านระบบประสาทอัตโนมัติเข้าไป ยังไขสันหลังซึ่งจะส่งต่อไปยังสมองส่วน pons
หลังจากนั้นสมองส่วนหน้าซึ่งเชื่อมต่อกับ pons
1.ระยะกักเก็บ
3.ระยะขับถ่าย จะถ่ายปัสสาวะได้ สมองส่วนหน้าจะส่งสัญญาณ ให้ PMC ทำงานโดย PMC จะบังคับให้หูรูดทั้งชุดในและชุดนอกคลายตัวหลังจากนั้นจะเริ่มบังคับให้กล้ามเนื้อ กระเพาะปัสสาวะบีบตัวเพื่อขับปัสสาวะออกมาจนหมด
พยาธิ
กระบวนการขับถ่ายปัสสาวะทั้งหมดเกิดขึ้นจากการทำงานของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ (detrusor muscle) และหูรูดท่อปัสสาวะ (sphincter moscle) ซึ่งควบคุมโดยระบบประสาท สามารถเเบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเก็บกักปัสสาวะ (storage phase) เริ่มจากปัสสาวะที่ได้รับการกรองจากไต (kidney) ไหลลงมากระเพาะปัสสาวะ(bladder) และเมื่อเกิดการดึงของกระเพาะปัสสาวะ
การรักษา
ลดปริมาณน้ำที่ดื่มในแต่ละวัน
การใช้ยาเพิ่มการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ เช่น
การใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้
งดอาหารบางอย่าง เช่น กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟนอีน ผลไม้พวกส้มเเละอาหารรสเผ็ด ซึ่งจะทำให้ปัสสาวะบ่อย
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งๆ ถ้าผู้ป่วยหรือญาติสามารถทำได้ก็จะเป็นผลดีกว่าการคาสายไว้
การใส่ท่อระบายทางหน้าท้อง
มีฤทธิ์กดการทำงานของระบบประสาทและทำให้กล้ามเนื้อหูรูดหดตัวมักใช้ในอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
Anticholinergic ช่วยลดการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ
สาเหตุ
มีความมักมากในกามและนิ่วในไต
การสูญเสียการทำงานของไต
การติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะช้ำ
ยา