Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพและ การคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพและ
การคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์
การซักประวัติ
ข้อมูลพื้นฐานและประวัติทางสังคม
ชื่อ-นามสกุล
อายุ
อาชีพ
ประเภทงาน
สัญชาติ&ศาสนา
วัฒนธรรม&ความเชื่อกับการตั้งครรภ์
ที่อยู่
รายได้
สิทธิการรักษา
ข้อมูลส่วนบุคคลของสามี
การใช้ยาและสารเสพติด
ประวัติทางสูติศาสตร์และนารีวิทยา
ประจำเดือน
การคุมกำเนิด
การคลอดในอดีต
การรักษาก่อนตั้งครรภ์
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
การเจ็บป่วยปัจจุบน+ยาที่ได้
การแพ้ยา
สารเสพติด/สุรา/บุหรี่
การดื่ม
ชา
กาแฟ
น้ำอัดลม
การทานช็อกโกแลต
ประวัติความเจ็บป่วยของสตรีมีครรภ์ในอดีต
ความเจ็บป่วยในวัยเด็กและโรคติดต่อ
โรคทางอายุรกรรมและศัลยกรรมในอดีต
การได้รับอุบัติเหตุหรือโรคของกระดูกเชิงกรานและหลัง
โปลิโอ
วัณโรค
โรคและการตรวจรักษาทางนารีเวช
ประวัติความเจ็บป่วยของสตรีมีครรภ์ในปัจจุบัน
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
การคาดคะเนอายุครรภ์และวันคลอด
ประเมินภาวะเสี่ยงได้teratogen
ยา
สารเคมี
การสัมผัส
X-ray
ความไม่สุขสบายที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วยของคนในครอบครัว
โรคทางพันธุกรรม
โรคอายุรกรรม
โรคติดต่อในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักส่วนสูง
น้อยกว่าเกณฑ์
คลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกน้ำหนักตัวแรกคลอดน้อย
มากกว่าเกณฑ์
เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ทารกตัวโต
คลอดยาก
ตรวจร่างกายทั่วไป
สภาพทั่วไป
การแต่งกาย
ความสะอาด
ความรู้สีกตัว
สีหน้าท่าทาง
อารมณ์
การตอบคำถาม
การตัดสินใจ
การใช้เหตุผล
ผิวหนัง
บวม(ปกติไม่เกิน+1)
เท้า
หน้าแข้ง
ไฝ
สีปกติ
ผิดปกติ
สีเข้มขี้น้ำ
โตขึ้น
สีผิว
Linea
Nigra
Striae
Gravidarum
Chloasma
จมูก
ปกติ
อาจบวมที่เยื่อบุภายในจมูก
คัดจมูก
มีเลือดออกเมื่อสั่งน้ำมูกแรง
ไม่ปกติ
ไม่ได้กลิ่น
น้ำมูกมีสีเหลือง
ไอและจามร่วมด้วย
ปาก
ปกติ
เหงือกบวมเล็กน้อย(Hypertrophy of Ginggival)
จาก
Tissue
Estrogen
ไม่ปกติ
เหงือกบวมอักเสบ
ริมฝีปากซีด
คอ
ปกติ
ต่อมน้ำเหลือง &ต่อมThyroid
ไม่โต
กดไม่เจ็บ
ไม่ปกติ
ต่อมน้ำเหลือง
โต
กดเจ็บ
ต่อมThyroid
มีต่อม Thyroid enlargement
ทรวงอกและปอด
ปกติ
ทรวงอกสมมาตร
หายใจไม่หอบเหนื่อย
อกไม่บุ๋ม
เสียงหายใจปกติ
ไม่ปกติ
อกบุ๋มขณะหายใจ
หายใจเร็ว หอบ
หยุดหายใจเป็นช่วงๆ
มีเสียงผิดปกติขณะหายใจ
ไอถี่
เต้านมและหัวนม
ปกติ
ปกติขนาดขยาย
คลำพบลักษณะขรุขระของต่อมและท่อน้ำนม
เส้นเลือดSuperficial veinขยาย
หัวนมสีคล้ำ
Tubercles of Montgomeryขยายขนาด
เสียวแปล๊บ ไวต่อการกระตุ้น
มีน้ำนมสีเหลือง(colostrum)
หลังอายุครรภ์12สัปดาห์ wAller'Test หัวนมปกติ สั้น แบน บุ๋ม แก้ด้วย Hoffman's maneuver
ไม่ปกติ
ขรุขระไม่เรียบ
เหมือนผลส้มกดเจ็บ
คลำพบก้อน
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณนักแร้โต
หัวนม
บุ๋ม
เลือดออก
มีรอยแตก
แขนขา
ปกติ
เคลื่อนไหวปกติ
ผิวหนังอุ่นอาจมีเส้นเลือดขยาย
พบvaricose veinsเล็กน้อยที่ขา
ไม่ปกติ
มือเท้าเย็น
บวมกดบุ๋ม
มีvaricose veinsมาก
ปลายมือปลายเท้าซีด
เล็บแอ่นเป็นรูปช้อน
Reflex
ปกติ
ไม่ปกติ
เร็ว(Hyperreactivity)
ท้อง
ปกติ
อาจพบstriae gravidarum,linea nigraและdiastasis rectiที่ผิวหนังหน้าท้อง
ความสูงยอดมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์
เห็นการดิ้นของทารกในครรภ์ คลำได้ballottementเมื่ออายุครรภ์4-5เดือน
คลำส่วนของทารกได้จากการตรวจครรภ์เมื่อ26-28สัปดาห์ขึ้นไป
ไม่ปกติ
หน้าท้องตึงกดเจ็บ
ความสูงยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
คลำพบก้อน คลำตับโต
ไม่ได้ยินเสียงหัวใจทารกในครรภ์
ไม่รู้สึกเด็กดิ้นเมื่ออายุครรภ์มากกว่า20สัปดาห์
กล้ามเนื้อ
ปกติ
กระดูกกล้ามเนื้อมีความแข็งแรง
การเคลื่อนไหวข้อต่างๆปกติ
กระดูกสันหลังปกติ ไหล่ไม่คุ้มงอ
ไม่ปกติ
หลังแอ่น
นอนหงายแล้วปวดหลังมาก
ไหล่งอ
ชาบริเวณแขนและปลายมือ
ปวดหลังและปวดชาบริเวณขามาก
อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
ปกติ
การกระจายตัวของpubic hairปกติ
สิ่งคัดหลังจากช่องคลอด
ไม่มีกลิ่น
สีใสคล้ายแป้งเปียก
ปริมาน้อย
ไม่คัน
อาจมีน้ำลักษณะคล้ายเหงื่อ(transodation)ปนมากับสิ่งคัดหลั่ง
ไม่ปกติ
มีแผล บวมแดง มีcaricositiesตอม
Bartholins โต กดเจ็บ
สิ่งคัดหลั่ง
ขาวขุ่น
เหนียว
คล้ายกลิ่นน้ำกรด
มีการอักเสบของปากมดลูก
ติดเชื้อสีชมพูจางลักษณะน้ำเขียวแกมเหลืองเป็นฟอง เหม็น
ติดเชื้อTricomonus vaginalis
สีน้ำตาลน้ำกลิ่นอับ
มีการอักเสบของปากมดลูกและช่องคลอด
สีเทามีเลือดปนกลิ่นเหม็นเน่า
ช่องคลอดอักเสบ
มีขาวเกาะเป็นแผ่น กลิ่นเหม็นอับมีการติดเชื้อรา
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิตสูงจะพบบ่อย
ชัก
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ์
วัตถุประสงค์ในการตรวจคัดกรอง
ค้นหา จำแนกและวิเคราะห์ความเสี่ยง
ก่อนตั้งครรภ์
ในระยะตั้งครรภ์
เป็นแนวทางในการป้องกันอันตรายจากปัจจัยเสี่ยงและแทรกซ้อน
สตรีมีครรภ์
ทารกในครรภ์
ดูแลรักษาร่วมกันในทีมสุขภาพอย่างทันท่วงที
ลดระดับความรุ่นแรงของภาวะแทรกซ้อน
ลด อัตราการเสียชีวิตของสตรีมีครรภ์และทารก
การแบ่งกลุ่มสตรีมีครรภ์ตามระดับของภาวะเสี่ยงเพื่อการวินิจฉัยภาวะครรถ์เสี่ยงสูง
กลุ่มเสี่ยงต่ำ (low risk)
กลุ่มสตรีมีครรถ์ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนในครรถ์
ทารกในครรถ์มีการเจริญเติบโตเป็นปกติไม่จำเป็นต้องได้รับการตรวจเป็นพิเศษ
กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (moderate risk)
กลุ่มที่ต้องได้รับการตรวจวินิจฉัย และเฝ้าระวังความเสี่ยง
อายุมากกว่า35ปี
เคยคลอดบุตรที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2500กรัม
กลุ่มเสี่ยงสูง (high risk)
กลุ่มที่มีความเสี่ยงที่มีผลกระทบรุนแรงต่อมารดาและทารก เป็นครรถ์เสี่ยงสูง (high risk pregnancy)
ต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่
ระยะตั้งครรถ์
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ต้องได้รับการตรวจติดตามจากแพทย์ ตามความรุนแรงของภาวะเสี่ยง
มีความดันโลหิต
โรคเบาหวาน
ครรถ์แฝด
เลือดออกขณะตั้งครรถ์
ตั้งครรถ์เกิดกำหนด
คัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยงทางด้านร่างกาย(physical factors)
เชิงกรานผิดปกติ
ขณะตั้งครรภ์ได้รับอุบัติเหตุหรือการทำร้าย
ได้รับteratogensในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ระยะคลอดมีการเสียเลือดมากจากการฉีกขาดของแผลฝี
ปัจจัยเสี่ยงทางด้านจิตใจ(psychological factors)=ภาวะเสี่ยงจากจิตสังคม
ก่อนตั้งครรภ์
ติดยา
ถูกคู่สมรสทำร้าย
ขณะตั้งครรภ์
ขาดการสนับสนุนขากครอบครัวและสามี
ระยะคลอด
กลัวต่อการคลอด
ใช้ยาระงับความเจ็บปวด
ปวดจนไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ไม่สามารถเบ่งคลอดได้เอง
ปัจจัยเสี่ยงด้านสังคม(social factors)=เกิดจากสภาพแวดล้อมในการดำเนินชีวิต
ขณะตั้งครรภ์
ติดเชื้อ(infection)
ได้รับรังสี(radiation)
สารเคมี(chemical)
ไม่ฝากครรภ์หรือฝากครรภ์ไม่ครบกำหนดตามเกณฑ์
อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่มีอันตราย
ขณะคลอด
ไม่มีญาติให้การสนับสนุน
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโดยไม่ได้วางแผน
การตรวจห้องปฎิบัติการและการแปลผล
ตรวจหาเซลลมะเร็งปากมดลูก โดยตรวจ Pap smear ตรวจครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ในรายที่ไม่เคยตรวจมาก่อนหรือ ตรวจนานกว่า 1 ปี
การตรวจปัสสะวะ
ตรวจคัดกรองการติดเชื้อทางเดินทางปัสสะวะที่ไม่มีอาการ (asymptomatic bacteriuria)
โดยใช้ Test tape พบเม็ดเลือดขาวตั้งแต่ 5 ตัวต่อหนึ่ง
high powered field ( อักเสบทางเดินปัสสาวะ)
เสี่ยงคลอดก่อนกำหนด
และทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
นํ้าตาล (glycosuria) อาจพบ trace ได้
ผิดปกติ ต้องส่งตรวจ GCT หรือ OGTT ต่อไป
หาโปรตีน(albuminuria) อาจพบ trace ได้
การตรวจเลือด
คัดกรพาหะของโรคธาลัสซีเมีย :
DCIPหรือHbE screening
เสี่ยงพาหะHbE
ปกติ
negative
MCV(mean corpuscular volume)
ไม่ปกติ
เสี่ยงพาหะ แอลฟ่า-ธาลัสซีเมีย 1และหรือ/เบต้า-ธาลัสซีเมีย
ปกติ
_>80:หรือOFT(one uterine tubeosmolality fragility test)ค่าปกติคือnegative
Rubella titer
EIA>1000แสดงว่ามีภูมิคุ้มกัน
ถ้าน้อยกว่าให้หลีกเลี่ยงการรับวัคซีน
ตรวจตั้งแต่อายุครรภ์น้อยๆในรายที่ไม่เห็นเป็นหัดเยอรมันและรับวัคซีน
VDRL=positive
อาจผล+ต้องยืนยันซ้ำด้วยFTA-ABS ทารกอาจพิการแต่กำเนิด
HBsAg,HBeAg
HIV
วิธี FDA-licensed Elisa
หมู่เลือด
Antibodyต่างๆกรณีต่างชาติหรือเคยรับเลือด
Rh factor
ABO group
CBC
โลหิตจาง(Hct>33%,Hb>11mg/dL)อาจเกิดจาก
ขาดธาตุเหล็ก
ขาดสารที่ช่วยสร้างเม็ดเลือด
folic acid
Vit B12
พยาธิปากขอ
ตรวจครั้งแรกทันทีที่ฝากครรภ์และตรวจซ้ำช่วง 30-32wks
บทบาทพยาบาลในการช่วยเหลือและส่งต่อ
Risk approach
ค้นหาสตรีในระยะตั้งครรถ์ที่มีภาวะเสี่ยง แต่ละองค์กรจะมีแนวทางที่สร้างไว้
ให้การดูแลรักษาอย่างเหมาะสมในแต่ละเกณฑ์เสี่ยง
การดูแลและส่งต่อสตรีตั้งครรถ์ที่มีภาวะเสี่ยงอย่างเหมาะสม มีแนวทางดังนี้
เสี่ยงต่ำสามารถดูแลได้ในระดับ โรงพยาบาลประจำตำบล
เสี่ยงปานกลาง สามารถดูแลได้ในระดับโรงพยาบาลประจำอำเภอหรือโรงพยาบาลทั่วไป
เสี่ยงสูงควรได้รับการดูแลในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่มีแพทย์เฉพาะทางหรือโรงพยาบาลศูนย์
การนัดตรวตติดตาม
การตรวจครรถ์ตามนัดทุกครั้งเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อสตรีมีครรถ์จะได้รับการดูแลรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่ิอง
หากมีความผิดปกติหรือมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นจะได้รับการดูแลช่วยเหลือและแก้ไขความ ผิดปกติได้ทันท่วงที
รวมทั้งการมาตรวจครรถ์ตามนัดยังได้ รับความรู้ คำปรึกษาเกี่ยวกับการปฎิบัติตัวและการเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด การดูแลและเลี้ยงดูบุตรด้วย
สำหรับรายที่มีความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนหรือมีภาวะเสี่ยงจะได้รับการตรวจในคลีนิกพิเศษ (high risk clinic) หรือรับไว้ในโรงพยาบาล
การให้วัคซีนที่มีส่วนประกอบของบาดทะยัก
(DTP-HB,DTP,dT,TT)
ไม่เคยได้รับ
ให้3เข็มทันที่ที่มาฝากครรภ์
กระตุ้น1เข็มทุก10ปี
0-1-6
เคยได้1เข็ม(ไม่ว่าจะได้มานานเท่าไร)
ให้2เข็มทันทีที่มาฝากครรภ์
0-1-6
กระตุ้น1เข็มทุก10ปี
เคยได้2เข็ม (ไม่ว่าจะได้มานานเท่าไร)
ฉีดเพิ่ม1เข็มทันทีที่มาฝากครรภ์
เข็ม3ห่างจากเข็ม2 6เดือน
กระตุ้น1เข็มทุก10ปี
ได้รับวัคซีนมาแล้ว3เข็ม (เข็มสุดท้ายนานกว่า10ปี)
ฉีดทันทีที่มาฝากครรภ์1เข็ม
จากนั้นกระตุ้น1เข็มทุก10ปี
เคยได้รับวัคซีน DTP ครบ5เข็ม
และdT เมื่อเรียนอยู่ชั้นป.6 นานกว่า10ปี
ให้ฉีดทันทีที่มาฝากครรภ์ 1เข็ม จากนั้นให้กระตุ้นอีก1เข็มทุก10ปี
ได้รับวัคซีนมาแล้ว3เข็ม (เข็มสุดท้ายนานกว่า10ปี)
ไม่ต้องให้วัคซีนในระหว่างการตั้งครรภ์ครั้งนี้
แต่ให้กระตุ้น1เข็มทุก10ปี
เคยได้รับมาแล้ว แต่จำไม่ได้ว่าเคยได้รับวัคซีนมาแล้วกี่ครั้ง ให้พิจารณาว่า เคยได้รับมาแล้วอย่างน้อย 1 ครั้ง
ให้ฉีด2เข็ม โดยให้เข็ม2ทันทีที่มาฝากครรถ์ ห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย 1 เดือน
เข็ม3 ห่างจากเข็ม2 อย่างน้อย 6 เดือน
จากนั้นกระตุ้นอีก 1เข็ม ทุก10ปี