Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอนามัยโรงเรียน (School Health), นางสาวเกวดี เลาสง 62110037 …
การอนามัยโรงเรียน (School Health)
แนวคิด และหลักการของการอนามัยโรงเรียน
ความหมายและความสำคัญของการอนามัยโรงเรียน
กิจกรรมหรือการดำเนินงานที่ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจการป้องกัน การรักษา การแก้ไขปรับปรุงและการส่งเสริมสุขภาพของบุคคลทุกคนในโรงเรียนให้มีสุขภาพดี ดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
เน้นการจัดกิจกรรมร่วมกันใน 3 ลักษณะคือ การบริการสุขภาพ การสอนสุขศึกษาและการจัดสิ่งแวดล้อม
ขอบเขต และเป้าหมายของการอนามัยโรงเรียน
1) ป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อภายในโรงเรียน
2) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
3) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
4) การควบคุมโรคติดต่อโดยการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
เป้าหมายของการอนามัยโรงเรียน
การจัดโครงการจัดบริการสุขภาพใน โรงเรียนจะครอบคลุมกิจกรรมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูแลรักษา และพื้นฟู สุขภาพ การที่ครอบครัว และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
วัตถุประสงค์ของการให้บริการอนามัยโรงเรียน
เพื่อจัดและดำเนินการโครงการอนามัยโรงเรียนที่สอดคล้องกับนโยบายของประเทศ
เป็นการให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดี และทักษะในการดูแลสุขภาพ
เพื่อเป็นการป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียนอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันการเจ็บป่วย
องค์ประกอบของการให้บริการอนามัยโรงเรียน
1) บริการอนามัยโรงเรียน (School Health Service)
2) สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (Healthful School Living)
3) สุขศึกษาในโรงเรียน (School Health Education)
4) ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน บ้านและชุมชน (School and Home Relationship)
การประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาล ในการปฏิบัติงานอนามัยโรงเรียน
3) การวางแผนงาน (Planning)
4) การดาเนินงานตามแผนงาน
2) วิเคราะห์ข้อมูล และวินิจฉัยปัญหา (Analyzing data and Diagnosis)
5) การประเมินผลงาน/โครงการ (Evaluation)
1) การประเมิน (Assessment)
การให้บริการอนามัยโรงเรียนในสถานการณ์ต่าง ๆ
การสร้างผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ประกอบด้วยผู้นานักเรียนฝ่ายส่งเสริม อนามัยในโรงเรียนประถมศึกษา เรียกว่า “อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน” (อสร.) และในโรงเรียน มัธยมศึกษา เรียกว่า “ผู้นาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน” (ยสร.)
มีบทบาท ดังนี้
1) ปฏิบัติตนให้เกิดสุขนิสัย เป็นตัวอย่างแก่นักเรียนและบุคคลอื่น
2) ตรวจสุขภาพและสังเกตความผิดปกติของร่างกายเพื่อนนักเรียนในโรงเรียน
3) ช่วยเหลือครูอนามัยให้บริการแก่เพื่อนนักเรียน
7) ช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณสุขในชุมชนตามโอกาส
4) ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขขณะมาให้บริการที่โรงเรียน
6) ช่วยเหลือพ่อแม่ที่บ้าน ในด้านการรักษาความสะอาดบริเวณบ้าน ช่วยดูแลน้อง
5) ให้ความรู้ด้านอนามัยแก่เพื่อนนักเรียน
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ปัจจุบันกระทรวงสาธารสุขได้ กาหนดวัคซีนที่นักเรียนต้องได้รับเพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อโรค 10 ชนิด
บาดทะยัก (Tetanus)
โปลิโอ (Polio)
ไอกรน (Pertussis)
คางทูม (Mump)
คอตีบ (Diphtheria)
หัด (Measles)
ตับอักเสบบี (Hepatitis B)
หัดเยอรมัน (Rubella)
วัณโรค (Tuberculosis)
ไข้สมองอักเสบ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินภาวะการเจริญเติบโตของร่างกาย
1.การเตรียมเด็กที่จะชั่งน้าหนัก
การอ่านค่าน้าหนัก
เทคนิคการวัดส่วนสูง
4.การคำนวณอายุ
5.กราฟแสดงการเจริญเติบโต
การทดสอบสายตา
เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถตรวจวัด คัดกรองความผิดปกติด้านการมองเห็น ของเด็กนักเรียน เพื่อที่จะได้แก้ไขและป้องกันภาวะผิดปกติของสายตาได้ทันท่วงที และ มีประโยชน์ต่อ การจัดที่นั่งในห้องเรียน
การทดสอบการได้ยินอย่างง่าย
ทดสอบโดยใช้นิ้วหัวแม่มือถูกับนิ้วชี้ห่างจากหู 1 นิ้ว ถ้าไม่ได้ยินเสียงนิ้วถูกันหรือได้ยินไม่ ชัด อาจมีความผิดปกติ
ให้นักเรียนยืนหันหลังให้ผู้ตรวจ ให้ห่างประมาณ 3 ก้าว ให้ผู้ตรวจเรียกชื่อนักเรียน หรือ ให้ทาตามคาสั่งด้วยเสียง ปกติ ถ้าได้ยินหรือทาตามคาสั่งได้แสดงว่าการได้ยินปกติ แต่ ต้องทดสอบในห้องเงียบ ให้นักเรียนเข้ามาทีละคน
ใช้เครื่องมือง่ายๆเช่นกระดิ่งเล็กๆสั่นห่างจากหูเด็กประมาณ1ฟุตทาทีละข้างถ้า ข้างใดไม่ได้ยิน ให้สงสัยว่าเป็นความผิดปกติของการได้ยินในหูข้างนั้น นักเรียนที่ตรวจ แล้วสงสัยว่ามีความผิดปกติ ควรส่งพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุต่อไป
การตรวจสุขภาพร่างกาย 10 ท่า
ท่าที่ 1
ยื่นมือไปข้างหน้าให้สุดแขนทั้งสองข้าง คว่ามือ กางนิ้วทุกนิ้ว
ท่าที่ 2
ทาท่าต่อจากท่าที่ 1 คือพลิกมือ หงายมือ สิ่งผิดปกติที่ควรสังเกต
สิ่งที่ควรสังเกต เล็บยาวสกปรก
-ผิวหนังบวม เป็นแผล ผื่น มีขี้ไคล -มีตุ่มเล็ก ๆ มีน้ำใส ๆ ตามง่ามมือ
ท่าที่ 3
งอแขนพับข้อศอก ใช้นิ้วแตะเปลือกตาด้านล่าง เบาๆ ดึงเปลือกตาด้านล่างพร้อมกับเหลือกตา ขึ้นและลงแล้วจึงกรอกตาไปด้านข้างขวาและ ซ้าย
สิ่งที่ควรสังเกต ตุ่มสากบริเวณด้านนอกของแขน ดวงตา มีขี้ตา คันตา เปลือกตาบวม เจ็บ ขอบตาล่าง แดงมาก อักเสบ เป็นเม็ดหรือเม็ดอักเสบ เป็นหนองที่เปลือกตา
ท่าที่ 4
ใช้มือทั้งสองข้าง ดึงคอเสื้อออกให้กว้าง ภายหลังที่ปลดกระดุมหน้าอกเสื้อแล้วหมุนตัว ซ้ายขวาเล็กน้อยเพื่อจะได้เห็นรอบ ๆ บริเวณ คอ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
สิ่งที่ควรสังเกต เม็ดผื่นคันบริเวณผิวหนังใต้คอบริเวณทรวงอก ผิวหนังเป็นวงๆ สีขาวๆ ลักษณะเรียบ โดยเฉพาะบริเวณคอ ผิวหนังเป็นวงสีแดงๆเห็นขอบชัด ผิวหนังสกปรกมีขี้ไคล บริเวณคอด้านหน้าบวมโตผิดปกติ
ท่าที่ 5
สาหรับนักเรียนหญิง ใช้มือขวาเปิดผมไปทัดไว้ ที่ด้านหลงั หูขวา หันหน้าไปทางซ้าย ส่วน นักเรียนชายหันหน้าไปทางซา้ ยเท่านั้น
ท่าที่ 6
ในท่าเดียวกันนักเรียนหญิง ใช้มอื ซ้ายเปิดผม ไปทัดไว้ที่ดา้ นหลงั หูซ้าย หันหนา้ ไปทางขวา ส่วนนักเรียนชายให้หันหน้าไปทางขวาเท่านั้น
สิ่งที่ควรสังเกต มีไข่เหา บริเวณโคนเส้นผม มีน้ำหรือน้ำหนองไหลออกมาจากหูข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง มีขี้หูอุดตันข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง มีแผลหรือต่อมน้ำเหลืองหลังหู
ท่าที่ 7
ให้กัดฟันและยิ้มกว้างให้เห็นเหงือกเหนือฟันบน และเห็นฟันล่างให้เต็มที่
สิ่งที่ควรสังเกต ริมฝีปากซีดมาก เป็นแผลที่มุมปากมุมปากเปื่อย เหงือกบวมเป็นหนอง หรือมีฟันผุ ผิวหนังบริเวณใบหน้า หน้าผาก แก้ม คา เป็นวงขาวๆเรียบหรือเป็นวงแดงมีขอบชัด
ท่าที่ 8
ให้อ้าปากกว้างแลบลิ้นยาว พรอ้ มทั้งร้อง “อา” ให้ศีรษะเอนไปข้างหลังเล็กน้อย
สิ่งที่ควรสังเกต ลิ้นแตก แดง เจ็บ หรือเป็นฝ้าขาวๆ ฟันผุ แผลแดงอักเสบ บริเวณเยื่อบุจมูก มีน้ำมูกไหลบริเวณจมูก ไอ ต่อมทอนซิลโต
ท่าที่ 9
สาหรับนักเรียนหญิง ให้แยกเท้าทั้งสองข้าง ห่างกัน 1 ฟุต ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับกระโปรงดงึ ข้ึน เหนือเข่าทั้งสองข้าง ส่วนนักเรียนชายเพียงแยก เท้าทั้งสองข้างให้ห่างกัน 1 ฟุต เช่นกัน
ท่าที่ 10
นักเรียนหญิง ชาย อยู่ในท่าที่ 9 ให้กลับหลัง หันสังเกตด้านหลงัแล้วให้เดินไปข้างหนา้ ประมาณ4-5 ก้าวแล้วเดินกลับหันเข้าหา ผู้ตรวจ
สิ่งที่ควรสังเกต แผลบริเวณเข่า หน้าแข้งและน่อง เป็นตุ่ม พุพอง บริเวณหน้าแข้ง น่อง ความผิดปกติของฝ่าเท้า ความพิการของขา ทรวดทรง รูปร่าง
การปรับปรุงการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และการสุขาภิบาลอาหาร
4) การกำจัดขยะ
5) ห้องครัว
3) การกำจัดน้ำโสโครกในโรงเรียน
6) โรงอาหาร
2) ส้วมและที่ปัสสาวะ
7) ห้องพยาบาล
1) น้ำดื่ม น้ำใช้
การให้สุขศึกษาในโรงเรียน
การที่โรงเรียนจัดกิจกรรมสุขศึกษาทั้งในหลักสูตรและกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 ด้าน คือ ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติ ให้มีพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์
ความรู้ทางด้านสุขภาพ (Health Knowledge)
เจตคติทางด้านสุขภาพ (Health Attitude)
การปฏิบัติและทักษะทางด้านสุขภาพ (Health Practice and skill)
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน
เพื่อควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อไปยังเด็กคนอื่น
เพื่อให้ความรู้ในการป้องกันโรคแก่นักเรียน ครูและเจ้าหน้าที่ในโรงเรียน
ป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อเกิดขึ้นในโรงเรียน
วิธีการป้องกัน และควบคุมโรคตดิ ตอ่ ในโรงเรียน มีดังนี้
ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้มและสุขาภิบาลอาหาร
เฝ้าระวังโรคติดต่อโดยการสังเกตอาการของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
จัดให้มีการให้ภูมิคุ้มกัน ในโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
บริการให้สุขศึกษาในโรงเรียน
ตรวจสุขภาพนักเรียนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และกลวิธีในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การกระบวนเพื่อให้ประชาชนเพิ่มความสามารถในการควบคุมและ สร้างเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม
แนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แนวคิดที่กว้างขวางครอบคลุมด้านสุขภาพ อนามัยในทุกแง่ทุกมุมของชีวิต ทั้งในโรงเรียนและชุมชน นั่นคือ ความร่วมมือกันผลักดันให้โรงเรียนใช้ ศักยภาพทั้งหมดที่มี อยู่เพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนครอบครัวและ ชุมชน
กลวิธีในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การสร้างหุ้นส่วนและภาคี (Partnerships and Alliances)
การสร้างเสริมความเข้มแข็งในระดับท้องถิ่น (Strengthening local capacity)
1.การชี้แนะ(Advocacy)
การวิจัย ติดตาม และประเมินผล (Research, monitoring and evaluation)
องค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
องค์ประกอบที่ 5 บริการอนามัยโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 6 สุขศึกษาในโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 4 การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
องค์ประกอบที่ 7 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
องค์ประกอบที่ 3 โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
องค์ประกอบที่ 8 การออกกำลังกาย กีฬา และนันทนาการ
องค์ประกอบที่ 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 9 การให้คาปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
องค์ประกอบที่ 1 นโยบายของโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 10 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
บทบาทหน้าที่พยาบาลในการให้บริการอนามัยโรงเรียน
5) บทบาทเป็นที่ปรึกษา (Consultant)
1) บทบาทการเป็นผู้ดูแลโดยตรง (Direct care)
2) บทบาทเป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
3) บทบาทเป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยหรือให้สุขศึกษา (Health educator)
6) บทบาทเป็นผู้ให้คาปรึกษา (Counselor)
4) บทบาทด้านการดูแลรายกรณี (Case manager)
7) บทบาทเป็นผู้วิจัย (Researcher)
นางสาวเกวดี เลาสง 62110037 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3