Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้, นางสาวปิยวรรณ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
ภาวะสมองเสื่อมและภาวะโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
-ความเปลี่ยนแปลงทางความจำ นึกคำพูดช้าลง สับสนเรื่องวันเวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่รู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้
-ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมเช่น อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว
-ความเปลี่ยนแปลงในการดำเดินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่ที่คุ้นเคย
การวินิจฉัย
Cognitive impairment และมีความบกพร่องอย่างน้อย 1 อย่าง
พูดไม่ถูก (aphasia)
ทำไม่เป็น (apraxia)
ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง (agriosia)
มีควาบกพร่องในเรื่องบริหารจัดการ
สาเหตุ
1.Degenerative
2.Vascutar dementia
3.Intections
4.Trauma
5.Neopiasm
ประเภทของสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อมอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุบางโรงรักษาได้ บางโรครักษาไม่ได้
สมองเสื่อมเกิดจากการเสื่อมสภาพของเซลล์สมอง(Degenerative dementia)
อาการสมองเสื่อมจะเกิดขึ้นหลังจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงสมองส่วนนั้นสามารถรักษาให้ดีและป้องกันได้
การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การให้ผู้ป่วยคงความสามารถไว้ให้นานที่สุด (เสื่อมลงช้าที่สุด)
การเฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
กิจวัตรประจำวัน
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
Guillain – Barre syndrome
การรักษา
plasmapheresis
corticosteroid
Intravenous immunoglobulin (IVIG)
อาการ
อาการด้านประสาทการรับรู้
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง (cranial nerve) ซึ่งพบได้บ่อยคือเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7,9,10,3 ตามลำดับ
สาเหตุ
การติดเชื้อ
การได้รับวัคซีน
การผ่าตัดและการวางยาสลบ
โรคนอกระบบประสาท
การดำเนินโรค
ระยะเฉียบพลัน(Acute phase)
ระยะคงที่(Static phase)
ระยะฟื้นตัว (Recovery phase)
การพยาบาลระยะวิกฤตกภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจซึ่งจะส่งผลให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลวการพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
เป็นโรคที่มีการทำลายปลอกสมองหุ้มเส้นประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
สาเหตุ
ขาดสารอาหาร (วิตามิน)
พิษของยา สารพิษ
โรคที่ติดเชื้อ
เนื้องอกกดทับ
ภาวะถูกบีบรัดหรือการได้รับบสดเจ็บของเส้นประสาท
อาการ
เวียนศรีษะ
painful tonic spasm
intratabie hiccup
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
อาการทางจิต
การดูแล รักษา
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
,รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
,ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
, ออกกำลังกาย
Pakinson disease
เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์
อาการ
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก
อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง
เคลื่อนไหวร่างกายช้าลง
การรักษา
รักษาด้วยยา
กายภาพบำบัด
การผ่าตัด
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก(Deep brain stimulation)
การผ่าตัดฝั่งขั่วไฟฟ้า
การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิดสารโตพามินได้ (Neurotransptanta)
ไมแอสทีเนียเกรวิส
เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
อาการและการแสดง
Fluctuating skeletal muscle weakness
50% มาด้วยอาการเห็นภาพซ้อน หรือหนังตาตก
15% มาด้วยอาการกลืนสำลักเคี้ยวอาหารไม่ได้หรือพูดเสียงเปลี่ยน
5% อ่อนแรงต้นแขน หรือต้นแขนเพียงอย่างเดียว
Pupil ปกติ
การรักษา
ยา mestinon thymectomy
การพยาบาล
การบริหารยา mestinon
นางสาวปิยวรรณ วงศ์บุรุษ รหัสนักศึกษา 6301110801087