Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Triple vessel disease (TVD) หลอดเลือดหัวใจตีบ 3 เส้น - Coggle Diagram
Triple vessel disease (TVD) หลอดเลือดหัวใจตีบ 3 เส้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการกลับมาเป็นซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลง
เสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมและขาดการออกกำลังกาย
พยาธิสภาพ
เกิดจากการตีบของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจทั้ง 3 เส้นหลัก คือ. 1 เส้นซ้ายหลัก left anterior descending, LAD 2.เส้นซ้ายรอง left cerclumflex , LCX 3. เส้นขวาหลัก Right coronary artery, RCA หรือมีไขมันไปเกาะผนังของหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดแดงตีบแคบลง ปริมาณเลือดแดงผ่านได้น้อย เป็นผลทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และหากหลอดเลือดแดงตีบแคบมากจนอุดตัน จะทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายได้
สาเหตุ
จากการศึกษา พบว่าสาเหตุการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง : แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
1.ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้ เช่น อายุ เพศ เชื้อชาติ และประวัติการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ในครอบครัว
2.ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ เช่น ความดันโลหิตสูง ภาวะหัวใจเต้นพลิ้ว (atrial fibrillation) เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง ความอ้วน การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการ แต่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรืออุดตันค่อนข้างมากจะมีอาการเจ็บหน้าอกอย่างมากจนทนไม่ได้ เหมือนมีอะไรหนัก ๆ กดทับตรงกลางหน้าอก หรือการเจ็บจากหน้าอกขึ้นไปถึงคาง หรือเจ็บลงไปถึงแขนซ้าย
หายใจหอบ เหนื่อย
เหงื่อแตกใจสั่น
หมดสติ หรือหัวใจหยุดเต้น (Heart Attack)
ยาที่ได้รับ
6.Tramadol 50mg
รับประทานครั้งละ 1 แคปซูล
เวลามีอาการปวด ห่างกันอย่างน้อย 6 ชม.
7.Omeprazole iv 40 mg
ทานวันละ 1 ครั้ง เวลา 18.00 น.
Aspirin 81 mg
รับประทานครั้งละ 2เม็ด วันละ1ครั้งหลังอาหารเช้า
8.Clindamycin 600mg/4ml
+NSS 100 ml iv drip in 8 hr.
3.Lorazepam 1 gm
รับประทานครั้งละ 1 เม็ดวันละ 1 ครั้งก่อนนอน
9.Cordarone 150 mg/3ml
+D5W 100 ml iv drip in 8 hr.
2.Nuosic
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง
หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
10.Magnesium sulfate 50% 2mg + D5W 100 ml iv drip in 4 hr.
1.Carvedlilol (caratin) 6.25 mg
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด
วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น
Morphine 3mg/3ml
ให้เวลาปวด ห่างกันอย่างน้อย 6 ชม.
5.Mysoven granules 100 mg
ละลายในน้ำดื่ม ครั้งละ 2ซอง
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
การตรวจวินิจฉัย
การทดสอบหัวใจด้วยการเดินสายพาน (Stress Test)
เป็นการทดสอบ เพื่อตรวจดูว่ามีการขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจหรือไม่
การถ่ายภาพหลอดเลือดหัวใจ หรือการสวนหัวใจ (Coronary Angiography or Heart Catheterization)
หัตถการนี้ทำในห้องสวนหัวใจ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสอดสายสวนเข้าสู่ร่างกายตรงเส้นเลือดแดงที่ต้นขาหรือแขน แพทย์จะฉีดสารทึบรังสีผ่านเข้าไป เพื่อตรวจดูบริเวณที่มีการตีบตัน โดยการฉายเอ็กซเรย์ดูหลอดเลือด (Angiogram)
การตรวจโดยใช้คลื่นเสียง (Echocardiogram)
การตรวจโดยใช้คลื่นเสียง สามารถวัดขนาดห้องหัวใจ ลิ้นหัวใจ และการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG)
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ อาจสามารถบอกถึงปัญหาบางอย่างได้ เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การตรวจหลอดเลือดด้วยเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Angiography, CTA)
จะมีการฉีดสารทึบรังสีเข้าไปในร่างกายขณะที่ทำการตรวจด้วยเครื่องดังกล่าว เพื่อทำให้เห็นภาพหลอดเลือด
การดูแล
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์จำพวกผักผลไม้ให้มากขึ้น และเน้นอาหารจำพวกเนื้อปลาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เนื่องจากโอเมก้า 3 ในปลาช่วยลดการอักเสบซ่อนเร้น และมีไขมันที่ดีต่อสุขภาพ
ลดการบริโภคอาหารไขมันสูง เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน ไขมันอิ่มตัว และไขมันทรานส์
ลดการรับประทานอาหารที่มีรสเค็มหรือมีโซเดียมสูง
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งต้องดูแลทั้งด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย รวมทั้งการใช้ยารักษาอย่างเหมาะสม
ลดหรือจำกัดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ไม่ให้เกิน 1-2 ดื่มมาตรฐาน/วัน และเลิกสูบบุหรี่ อย่างเด็ดขาด
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
ออกกำลังกายเป็นประจำ
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียด
กินอาหารที่มีไขมันน้อย
ควบคุมน้ำหนัก
หลีกเลี่ยงอาหารหวาน อาหารที่มีไขมันไม่อิ่มตัว และอาหารเค็มจัด
ตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง