Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอนามัยโรงเรียน (School Health) - Coggle Diagram
การอนามัยโรงเรียน (School Health)
1.แนวคิดและหลักการ ของการอนามัยโรงเรียน :
1.3 การบริการอนามัยโรงเรียน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันการเจ็บป่วยของเด็กนักเรียน ครู ตลอดจนบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดี และทักษะในการดูแลสุขภาพแก่นักเรียน และบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
เพื่อจัดและดำเนินการโครงการอนามัยโรงเรียนที่สอดคล้องกับนโยบายของประเทศแผนงานของโรงเรียนและความต้องการของชุมชน
เป็นการให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ปฐมพยาบาล การป้องกันอุบัติเหตุภายในโรงเรียน ตลอดจนแก้ไขเบื้องต้นเพื่อป้องกันความพิการต่างๆ
เพื่อเป็นการป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียนอย่างถูกต้องและเหมาะสม
เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของนักเรียน และบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ตลอดจนดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆอย่างเหมาะสม และสามารถส่งต่อเพื่อรับการรักษา
องค์ประกอบ
1) บริการอนามัยโรงเรียน (School Health Service)
2) สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (Healthful School Living)
3) สุขศึกษาในโรงเรียน (School Health Education)
4) ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนบ้านและชุมชน (School and Home Relationship)
1.2 ขอบเขต และเป้าหมายของการอนามัยโรงเรียน
1.2.1 ขอบเขตของการอนามัยโรงเรียน มี 4 ข้อ
1) ป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อภายใน
2) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และถูกสุขลักษณะจะส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก
3) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
4) การควบคุมโรคติดต่อโดยการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
1.2.2 เป้าหมายของการอนามัยโรงเรียน
คือการจัดโครงการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียนจะครอบคลุมกิจกรรมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ
1.1ความหมายและความสำคัญของการอนามัยโรงเรียน
ความหมายของการอนามัยโรงเรียน
กิจกรรมหรือการดำเนินงานที่ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจการป้องกัน การรักษา การแก้ไขปรับปรุง และการส่งเสริมสุขภาพของบุคคลทุกคนในโรงเรียนให้มีสุขภาพดี
เน้นการจัดกิจกรรมร่วมกันใน 3 ลักษณะ
การบริการสุขภาพ
การจัดสิ่งแวดล้อม
การสอนสุขศึกษา
ความสำคัญของการอนามัยโรงเรียน
พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข จึงเป็นเหตุผลที่สถานศึกษา
2.การประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการดeเนินงานอนามัยโรงเรียน
การนำกระบวนการพยาบาลมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน ต้องใช้ทั้งทฤษฎีการพยาบาล และกระบวนการพยาบาลเข้ามาใช้เพื่อดูแลสุขภาพทั้งในบุคคล ครอบครัวและชุมชน
กระบวนการพยาบาล
ประกอบด้วย
1) การประเมิน (Assessment) โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection data)
1.1 สำรวจข้อมูลทั่วไป
1) ข้อมูลประเภทของโรงเรียน เช่น ชื่อโรงเรียน สังกัด สถานที่ตั้ง จำนวนห้องเรียน การเข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริม เป็นต้น
3) ข้อมูลนักเรียน เช่น จำนวนนักเรียนแยกตามระดับชั้น และแยกตามเพศ
2) ข้อมูลบุคลากรในโรงเรียน เช่น จำนวนครู จำนวนนักการภารโรง และบุคลากรอื่น ๆ
1.2 ประเมินสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และสุขาภิบาลอาหาร
1.3 การประเมินภาวะสุขภาพ
2) วิเคราะห์ข้อมูล และวินิจฉัยปัญหา (Analyzing data and Diagnosis)
นำมารวบรวม จัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ข้อมูล และหาข้อมูลสนับสนุนเพื่อนำไปวินิจฉัยปัญหา จัดลำดับความสำคัญของปัญหา และหาสาเหตุของปัญหาต่อไป
3) การวางแผนงาน (Planning)
เมื่อได้ปัญหาและสาเหตุของปัญหาแล้ว นำมาวางแผนงาน/โครงการเขียนโครงการแบบมีส่วนร่วม ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4) การดำเนินงานตามแผนงาน และ
เมื่อวางแผนงาน และกำหนดกิจกรรม ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการที่เขียนไว้
5) การประเมินผลงาน/โครงการ (Evaluation)
ประเมินผลเป็นระยะ คือประเมินก่อนดำเนินงานระหว่างดำเนินการ และหลังดำเนินการ เพื่อนำผลการประเมินมาพัฒนาโรงเรียน และพัฒนาสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากรต่อไป
การให้บริการอนามัยโรงเรียนในสถานการณ์ต่าง ๆ
3.1 การสร้างผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ประกอบด้วยผู้นำนักเรียนฝ่ายส่งเสริมอนามัยในโรงเรียนประถมศึกษา เรียกว่า “อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน” (อสร.) และในโรงเรียนมัธยมศึกษา เรียกว่า “ผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน” (ยสร.)
มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลืองานอนามัยโรงเรียน และฝึกให้นักเรียนมีจิตอาสา
3.2 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
3.3 การประเมินภาวะสุขภาพ
หมายถึง
การตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพนักเรียน เพื่อการนำไปวางแผนการดูแลสุขภาพ
ประกอบด้วย
1) การประเมินภาวการณ์เจริญเติบโตของร่างกาย ได้แก่ การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปลผลภาวะโภชนาการ เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และให้การดูแล ส่งเสริมโภชนาการตามปัญหาโภชนาการที่พบ เช่น ผอม อ้วน เตี้ย เป็นต้น
2) การทดสอบสายตาโดยใช้แผ่นวัดสายตา
3) การทดสอบการได้ยินอย่างง่าย
4) การตรวจร่างกาย 10 ท่า
3.4 การปรับปรุงการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และการสุขาภิบาลอาหาร
มาตรการควบคุมโดยตรงในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อ การส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะและการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อสุขภาพและลดความเสี่ยงของภาวะที่จะเกิดอุบัติเหตุของนักเรียน
องค์ประกอบของการอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
1) น้ำดื่ม น้ำใช้
2) ส้วมและที่ปัสสาวะ
3) การกำจัดน้ำโสโครกในโรงเรียน
4) การกำจัดขยะ
5) ห้องครัว
6) โรงอาหาร
7) ห้องพยาบาล
3.5 การให้สุขศึกษาในโรงเรียน
การที่โรงเรียนจัดกิจกรรมสุขศึกษาทั้งในหลักสูตรและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
มี 3 ด้าน
ความรู้ทางด้านสุขภาพ (Health Knowledge)
เจตคติทางด้านสุขภาพ (Health Attitude)
การปฏิบัติและทักษะทางด้านสุขภาพ (Health Practice and skill)
3.6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน
เพื่อควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อไปยังเด็กคนอื่น หรือชุมชนในกรณีมีการระบาดของโรค
เพื่อให้ความรู้ในการป้องกันโรคแก่นักเรียน ครูและเจ้าหน้าที่ในโรงเรียน
ป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อเกิดขึ้นในโรงเรียน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และกลวิธีในการด าเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ
หมายถึง
การกระบวนเพื่อให้ประชาชนเพิ่มความสามารถในการควบคุมและสร้างเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หมายถึง
โรงเรียนที่มีขีดความสามารถ
ที่แข็งแกร่ง มั่นคงที่จะเป็นสถานที่ที่มีสุขภาพอนามัยที่ดีเพื่อการอาศัย ศึกษาเรียนรู้และท างาน
บทบาทหน้าที่พยาบาลในการให้บริการอนามัยโรงเรียน
1) บทบาทการเป็นผู้ดูแลโดยตรง (Direct care) ใน 4 มิติ ด้านการรักษาพยาบาล ป้องกันควบคุมโรค ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพ เป็นผู้ตัดสินใจในการดูแลและการส่งต่อไปยังวิชาชีพที่
4) บทบาทด้านการดูแลรายกรณี (Case manager) เช่นในกรณีนักเรียนมีปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อน มีโรคเรื้อรัง หรือจัดให้มีการดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรค
7) บทบาทเป็นผู้วิจัย (Researcher) วิจัยเพื่อประเมินผล หรือการวิจัยเพื่อพัฒนางาน และต่อยอดความรู้ และพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงาน และเผยแพร่ไปสู่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป
2) บทบาทเป็นผู้ประสานงาน (Coordinator) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งภายใน ภายนอกหน่วยงาน
3) บทบาทเป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยหรือให้สุขศึกษา (Health educator) หรือให้ข้อมูลด้านสุขภาพ ในการสอนสุขศึกษารายบุคคล หรือรายกลุ่ม
5) บทบาทเป็นที่ปรึกษา (Consultant) และให้ข้อมูลแก่ผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้ปกครอง
6) บทบาทเป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) พยาบาลอนามัยโรงเรียนเป็นผู้ให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพแก่นักเรียน เช่นปัญหาที่อาจเสี่ยงต่อสุขภาพ ยาเสพติด สุขภาพจิต เป็นต้