Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ และสาธาณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ และสาธาณภัย
การจัดการสาธรณภัยระยะหลังเกิดเหตุ (Post - impact)
พื้นฟูสุขภาพของผู้ประสบภัยและญาติ ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ฟื้นฟู/บรูณะสิ่งก่อสร้างต่างๆการสาธารณูปโรคและการประกอบอาชีพ
การก่อสร้างสิ่งต่างๆขึ้นใหม่ เพื่อการทดแทนสิ่งที่เสียหายจากสาธารณภัย
การประเมิน
แผลที่มีอวัยวะโผล่
ช่วยดูแลภาวะเร่งด่วนตามอาการ
ห้ามกดหรือดึุงอวัยวะนั้นกลับเข้าไป
ใช้ผ้าชุบ NSS บิดพอหมาดๆคลุมแผล
ปิดแผลและพันด้วยผ้าสะอาด
ประเมินด้านจิตสังคม
แผลถูกตัดขาด
ประเมินด้วยร่างกาย
บาดแผล
ชนิด
ความกว้าง
ตำแหน่ง
ความยาว
ความลึก
สาเหตุ
สัญญาณชีพ
การจัดการสาธารณภัยระยะก่อนเกิดเหตุ (PRE-IMPACT)
กิจกรรมการที่ปฎิบัติในระยะนี้
1.การคัดแยกประเภทของผู้ประสบภัย (Triage)
2.การเตรียมพร้อมการรับสาธารณภัย เป็นการวางแผนเตรียมความพร้อมกับสาธารณภัยรวมไปถึงเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น (Prevention/Mitigation)
การพยาบาลสาธารณภัย
2.อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลาหรือทุกสถานที่อย่างกระทันหันหรือค่อยๆเกิดขึ้น จากธรรมชาติเองหรือจากมนุษย์
3.เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายประชาชน
1.ภัยที่เกิดขึ้นกับคนหมู่มาก
4.เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ
5.เกิดความต้องการในสิ่งที่จำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วนสำหรับผู้ประสบภัย
การจัดการสาธารณภัยระยะเกิดเหตุ (Impact)
การให้การพยาบาลด้านสุขภาพแก่ผู้ประสบภัยในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อโดยการจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
กลไกลการบาดเจ็บ
การสลายไฟบรินและโปรตีน
ใช้ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การกำชาบของเลือดลดลง
เนื้อเยื้อได้รับบาดเจ็บ