Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 กลวิธี และนวดกรรมสาธารณสุข - Coggle Diagram
บทที่4 กลวิธี และนวดกรรมสาธารณสุข
แนวคิดนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
ความตื่นตัวในการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ทำให้ผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆ ได้เรียนรู้ประสบการณ์การทำงานในชุมชน เห็นปัญหา และเข้าใจสภาพของชุมชนมากขึ้น
การเกิดและคิดค้นนวัตกรรมต่างๆ อย่างมากมาย ทาให้เจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติงานเกิดความสับสน
นวัตกรรมที่หลากหลายเปรียบเสมือนเครื่องมือนานาชนิดที่ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
นวัตกรรมต่างๆ ล้วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน และสามารถส่งผลกระทบเชิงพัฒนาต่อกันได้
การดำเนินการนวัตกรรมในพื้นที่ต่างๆ จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาวการณ์ที่แตกต่างกันของพื้นที่
การสาธารณสุขของประเทศได้ดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องภายใต้แนวคิดสาธารณสุขมูลฐาน
การสาธารณสุขมูลฐานเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชน ที่เน้นหนักกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
การเน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เป็นเรื่องคุณภาพที่จะต้องพิถีพิถันในทุกขั้นตอนของการดำเนินการ และไม่สามารถทาขึ้นพร้อมๆกัน
การดำเนินการที่จะทำให้เกิดการปรับตัวได้อย่างยืดหยุ่นตามยุทธศาสตร์ทางเลือกเพื่อการพัฒนา(Alternative Strategy) ที่จะสามารถเลือกและกำหนดเป้าหมาย
นวัตกรรมสาธารณสุขไทยสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
ระยะเวลาที่ผ่านมา ได้มีการพัฒนาแนวทางเพื่อบรรลุถึงสุขภาพดีถ้วนหน้าและคุณภาพชีวิต โดยมีนวัตกรรมของการดาเนินโครงการกลวิธีและแนวความคิดต่างๆ เกิดขึ้นหลายประการ
ในการดำเนินงานสาธารณสุขที่ผ่านมา เกิดนวัตกรรมสาธารณสุขมากมาย ซึ่งมีการเชื่อมต่อกันและมีเป้าหมายหลัก คือ การบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า
วิธีคิดในการสร้างนวัตกรรมทางการพยาบาลหรือนวัตกรรมสุขภาพ ต้องเกิดจากการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูลจากการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสำคัญและความจำเป็น
เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการพยาบาล เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือจัดการความเสี่ยงอันอาจเกิดขึ้น
เพื่อสร้างความรู้ใหม่ในการให้บริการพยาบาล ระบบบริการพยาบาล หรือระบบสุขภาพ
เพื่อประสานความร่วมมือกับหุ้นส่วนด้านสุขภาพ ในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ
เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจและการมีคุณค่าของพยาบาลในการให้บริการ ช่วยให้พยาบาลได้แสดงศักยภาพในการคิดค้น และพัฒนาตนเอง
เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือลดการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อแก้ปัญหางบประมาณ กาลังคน ภาระงาน การบริหารจัดการ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
การประกาศนโยบาย และเป้าหมาย
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางกาย
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางจิตใจ
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางสังคม และเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางปัญญา / จิตวิญญาณ
การวิเคราะห์ปัญหานวัตกรรมสาธารณสุข
ระดับประชาชน
ระดับข้าราชการส่วนภูมิภาค
ระดับส่วนกลาง
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
ด้านการประเมินผล
ด้านคิดค้นนวัตกรรม หรือวางแผนใช้นวัตกรรม