Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่2 นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ
นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ
ฉบับที่6 การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนซึ่งมีเป้าหมาย สุขภาพดีถ้วนหน้ส
ฉบับที่7 กลวิธีทางสาธารณสุขมูลฐาน
ฉบับที่5 การให้ประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนา ผสส. และ อสม. การใช้สาธารณสุขมูลฐานเป็นแนวทางการพัฒนา
ฉบับที่8 มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
ฉบับที่ 4 การมีส่วยร่วมของประชาชน
ฉบับที่9 เน้นการประสานพลังทุกภาคส่วน โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ฉบับที่ 3 กระจายอำนาจ
ฉบับที่10 ระบบสุขภาพพอเพียง
ฉบับที่ 2 เพิ่มการผลิตบุคลากรสาธารณสุข
ฉบับที่11 หลักเศรษฐกิจพอเพียงสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
ฉบับที่ 1 เน้นซ่อมมากกว่าสร้าง การบริการสาธารณสุขไม่ทั่วถึง
ฉบับที่12 ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของพัฒนาเพื่อให้คนไทยมีสุขภาพที่ดี
แนวทางการแก้ปัญหาสาธารณสุข
กำหนดกลวิธีหรือมาตรการแก้ไขปัญหา
การป้องกันโรค
การรักษา
การส่งเสริมสุขภาพ
การฟื้นฟูสภาพ
บริหารจัดการ
จัดสรร/สรรหาทรัพยากร
ประสานความร่วมมือ
ประเมินสถานการณืปัญหาสาธารณสุข
สาเหตุของปัญหา
แนวโน้มของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ติดตามและประเมินผล
ระบบกลไก
ผลลัพธ์
สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
ด้านระบบการศึกษา
การปฎิรูประบบการศึกษาพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้วิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีเหตุผล สามารถแก้ปัญหาได้
ด้านวิทยาการระบาด
อายุขัยเฉลี่ยยืนยาวขึ้น
โรคที่เกิดจากความยากจนลดลง
ปัญหาโรคไม่ติดต่อ
ปัญหาโรคติดต่อ
ด้านสังคม
โครงสร้างครอบครัวเปลี่ยนไปจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยว
วิถีการดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลง
ความรุนแรง
การอพยบของแรงงานข้ามชาติ
ค่านิยมการบริโภคและการดำเนินชีวิต
ความเชื่อวัฒนธรรมของคนไทยเปลี่ยนแปลง
ด้านสิ่งแวดล้อม
ภาวะคุกคามสิ่งแวดล้อมของโลก
ภาวะโลกร้อน
ปัญหาฝุ่นละออง
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการทำงาน
ด้านเศรษฐกิจ
ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนมากขึ้น
การเปิดตลาดการค้าเสรีทำให้มีการแข่งขันกันมากขึ้น
ครอบครัวมีรายได้ลดลง
ด้านระบบสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพในยุคโลกาภิวัฒน์และการค้าระบบทุนนิยม
นโยบายการพัฒนาประเทศและนโยบายการพัฒนาสุขภา
ระบบประกันสุขภาพ
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสุขภาพมีบทบาทมากขึ้น
การพัฒนาเทคโนโลยีในการตรวจวินิจฉัยโรค
เทคโนโลยีในการควบคุมและการป้องกันโรค
เทคโนโลยีในการรักษาโรค
ด้านการเมือง
การปฎิรูปทางการเมือง
การรวมกลุ่มของประชาคมต่างๆ
ความขัดแย้งในสังคมอันมีสาเหตุมาจากการเมือง
ด้านพฤติกรรมสุขภาพ
การบริโภคอาหาร
การบริโภคยา
การสูบบุหรี่
การดื่มแอลกอฮอล์
การใช้สารเสพติด
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ