Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด และหลักการ การดูแลเพื่อ ประคับประคองสุขภาพ, นางสาววิภาดา…
บทที่ 1 แนวคิด และหลักการ การดูแลเพื่อ
ประคับประคองสุขภาพ
คำจำกัดความ
Palliative care
การดูแลเพื่อเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยด้วยโรคที่รักษาไม่หายขาด
ให้ผู้ป่วยได้ใช้เวลาที่เหลืออยู่อย่างมีคุณภาพ
Hospice care
การดูแลผู้ป่วยแบบเบ็ดเสร็จ สำหรับผู้ป่วยในระยะท้ายของโรค โดยมากเป็นผู้ป่วยที่มี
พยากรณ์โรคน้อยกว่า 6 เดือน
องค์ประกอบ PC
การดูเเลด้านการควบคุมอาการไม่สุขสบาย (symptom control)
การรักษาโรค (disease management)
การดูแลด้านจิตสังคม และจิตวิญญาณ(psychological and spiritual care)
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ป่วย PC
เป็นโรคที่ไม่หายขาด
อาการของโรครุนแรงปานกลางถึงมาก
ผู้ป่วยมะเร็งระยะแพร่กระจาย
ญาติและผู้ป่วยยอมรับที่จะเข้ารักษา
เวลาที่เหมาะสมในการเริ่มดูแลแบบ PC
เริ่มต้นแต่แรกที่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น
โรคที่รักษาไม่หายจนกระทั้งผู้ป่วยเสียชีวิต
รูปแบบการดูแลแบบ PC ในประเทศไทย
รูปแบบการดูแลที่ดำเนินการโดยองค์กรทางศาสนา
(religious-based organization)
รูปแบบการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาล
(hospital-based services)
รูปแบบการดูแลที่บ้าน/การดูแลโดยชุมชน
(home-based/community-based care)
รูปแบบสถานพยาบาลกึ่งบ้าน(hospice)
การดูแลแบบ PC ( แนวทาง)
สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ มีแนวทางใน
การบริการการพยาบาลแบบประคับประคองที่มีระบบชัดเจน
เครือข่ายสถานบริการสาธารณสุข มีระบบการ
ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องถึงชุมนชน
ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
การดำเนิงานในการดูแลแบบ PC
ขั้นตอนที่ 1 คัดกรองผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 วินิจฉัยและให้ข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 การตัดสินใจเข้าสู่ระบบบริการพยาบาลแบบ PC
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินระดับความสามารถการ
ปฏิบัติกิจกรรมของผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 5 การให้การพยาบาลแบบ PC
ขั้นตอนที่ 6 การวางแผนจำหน่าย/ส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนที่ 7 การติดตามเยี่ยมและประเมินผล
บทบาทและสมรรถภาพพยาบาลในการดูแล PC
การเป็นผู้ประสานการดูแลและช่วยเหลือ
ดูแลระยะท้ายในผู้ป่วยวัยสูงอายุ
การดูแลเพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยทงด้านร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ
การดูแลครอบครัวภายหลังการเสียชีวิตของผู้ป่วย
นางสาววิภาดา ชื่นใจ เลขที่ 37