Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE - Coggle Diagram
CARDIOVASCULAR DISEASE
& NURSING CARE
CORONARY BLOOD CIRCULATION
RCA= เลี้ยงกล้ามเนื้อ
หัวใจด้านขวาบนและล่างและผนังด้านล่าง left ventricle
Left Coronary Artery ส่งเลือดไปยัง left main
coronary artery (LM) แยกเป็น - Left Anterior
Descending Artery (LAD) เลี้ยงผนัง left ventricleและ
ผนังกั้นventricle ส่วนหน้า ประมาน 2/3 right ventricle
Left Circumflex Artery (LCX)เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ด้านหลัง left atrium และผนังด้านข้างleft ventricle
HEART FUNCTION
SA node
Intermodal pathway
AV node
His bundle :
Bundle branch
Purkinje fibers
•Depolarization การบีบตัวของหัวใจ (systole) •Repolarizationการคลายตัวของหัวใจ (diastole)
STEMI vs NSTEMI
STEMI เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ที่พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ พบ ST segmentยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกันหรือเกิด Left bundle branch block(LBBB) ด้วย Cardiac
enzyme มักพบ Troponin/CK-MB สูง
NSTEMI เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นST segment depression หรือ Twave inversion ร่วมด้วย Cardiac enzyme มักพบ Troponin/CK-MB สูง หากมีอาการนานกว่า 30นาทีจะเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หรือมีอาการเจ็บหน้าอกแบบไม่คงที่
ABNORMAL EKG
ข้อควรระวัง
-STEMI vs NSTEMI
Electrolytes Imbalance
Potassium Imbalance
-Calcium Imbalance
ปัญหาที่พบบ่อย
• Tachycardia
• Bradycardia
• Atrial Fibrillation (AF)
PERMANENT PACEMAKER
Single chamber ใส่สายถาวร 1 เส้นบริเวณหัวใจ
ห้องล่างขวา
Dual chamber ใส่สายถาวร 2 เส้นบริเวณหัวใจ
ห้องบนและล่างขวา
การดูแล
1.คล้องแขนข้างที่ทำประมาณ 48 ชั่วโมง
2.ไม่ควรยกแขนเหนือไหล่ 14 วัน
3.ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำก่อนถึงวันนัดเปิดแผล
4.มาตามแพทย์นัดทุกครั้งเพื่อเช็คการทำงานของเครื่อง
5.พกบัตรประจำตัวผู้ใส่เครื่อง / แจ้งแพทย์เมื่อรับการรักษาอื่น
6.หลีกเลี่ยงการกระแทกบริเวณที่ฝังเครื่อง
7.ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าตามปกติแต่หลีกเลี่ยงอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ชำรุด
8.หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีคลื่นไฟฟ้าแรงสูง
9.ถ้าเดินทางด้วยเครื่องบินต้องแจ้งพนักงานทราบ
9.ออกกำลังกายได้ตามปกติหลังแผลติด
10.รับประทานอาหารได้ตามปกติ
CORONARY ARTERY DISEASE
•เจ็บลึกๆหรือปวดแน่นตรงกลางหน้าอก อาจร้าวมาซ้าย •มี/ไม่มีอาการคลืนไส้ อาเจียน เหงื่อออก มี/ไม่มีอาการเหนื่อย
พยาธิสภาพ
•มีความผิดปกติของเซลล์บุผนังด้านในของหลอดเลือดแดงcoronary ไขมันสะสม หลอดเลือดอักเสบจนแข็งและหนาตัวเกิดการอุดตัน
ยา
• aspirin• morphine • ให้ O2 ถ้า SpO2 < 90%
หัตถการและการผ่าตัด
Percutaneous Balloon Angioplasty (PTCA)
Coronary Artery Bypass Grafting (CABG) (cross-sectional area ของหลอดเลือดหายไปร้อยละ75 หรือ = เส้นผ่าศูนย์กลางร้อยละ 50)
HEART FAILURE
สมรรถภาพการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง เพิ่มการกระตุ้นผนังหัวใจ กระตุ้นRAAS(renin-angiotensin-aldosterone system และระบบประสาทsympathetic ส่งผลให้ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแอลง ไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้ตามปกติ เกิดพังผืด มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด เซลล์ และโมเลกุล เซลล์ตาย กล้ามเนื้อหัวใจหนา กล้ามเนื้อหัวใจเป็นพิษ
อาการ
• น้ำคั่งในปอด : ส่งผลให้เกิดอาการหายใจไม่ออกแม้ในขณะพัก
นอนราบมีหายใจ
ติดขัด ไอแห้งๆ
• บวมน้ำ : เลือดไปยังไตน้อยลง การกักน้ำผิดปกติ น้ำส่วนเกินส่งผลให้ข้อเท้า/
ขาบวมกดบุ๋ม ท้องมาน ตับ/ม้ามโต
•เหนื่อยล้าและเวียนศีรษะ: เป็นผลจากปริมาณเลือดที่ส่งไปยังอวัยวะต่าง ๆ
ลดลงและทำให้รู้สึกสับสนได้
• หัวใจเต้นผิดปกติ และถี่เกินไป: ปริมาณเลือดลดลง จึงเพิ่มอัตราสูบฉีดเลือดเร็วขึ้น
• กระตุ้นระดับความเครียด : เกิดการปลดปล่อยฮอร์โมนความเครียดอย่างผิดปกติ
สาเหตุ
•โรคหลอดเลือดหัวใจ• หัวใจวาย
•โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม• พันธุกรรม
• ผลข้างเคียงที่มาจากยารักษาโรคที่ใช้อยู่
• การติดเชื้อของร่างกาย• ภาวะที่หัวใจทำงานหนัก
เกินไป ได้แก่ โรคลิ้นหัวใจผิดปกติ โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคไต
•อาการผิดปกติของหัวใจโดยกำเนิด
แบ่งความรุนแรงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดตาม Canadian Society(CCS)
• Class Iเจ็บหน้าอกเมื่อเร่งรีบหรือ างานหนัก ถ้าเดินหรือขึ้นบันไดจะไม่มีอาการ
• Class IIเจ็บหน้าอกเวลาเดินไกลหรือขึ้นบันไดมากกว่า 1 ชั้น ขึ้นภูเขาหรือทางลาดมีอาการหลังตื่นนอนตอนเช้า เมื่อเครียดหรือโกรธ
• Class IIIมีอาการเมื่ออกแรงเพียงเล็กน้อย เช่น ขึ้นบันไดแค่ชั้น• Class IVมีอาการบ่อยจนแทบจะทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้ อาจมีอาการขณะนั่งพัก
CORONARY ARTERY
1.AORTA 2.Right coronary artery
3.Left Arterior Descending Coronary Artery 4.Circumflex Coronary Artery
5.Laft main Coronary Artery