Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pre-eclampsia, Eclampsia, นางสาวกรรวี ด้วงมหาสอน รหัสนิสิต 63019950 -…
Pre-eclampsia, Eclampsia
1. Root cause
-
-
สาเหตุ
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
ภูมิต้านทานที่มีต่อเชื้อโรคในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ไม่เพียงพอ หรือภูมิต้านทานบริเวณรกไม่มีประสิทธิภาพ หรือเชื้อโรคบริเวณรกมากเกินกว่าที่ภูมิต้านทานบริเวณรกจะกำจัดได้
-
พันธุกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เคยเป็นโรคความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ ถ้ามีบุตรสาว โอกาสที่บุตรสาวตั้งครรภ์ จะมีภาวะความดันโลหิตสูงที่รุนแรงมากขึ้น
-
การหดเกร็งของเส้นเลือด
การหดรัดตัวของหลอดเลือดจะเกิดขึ้นอย่างรุนแรง และทันทีทันใด ทำให้ endothelial cells ที่บุอยู่ภายในหลอดเลือดถูกทำลาย เป็นผลให้เม็ดเลือดและน้ำเหลืองไหลซึมออกไปอยู่โดยรอบหลอดเลือด
-
-
2.Identified
- จากประวัติ อาการ และอาการแสดงที่ตรวจพบ
-
-
- ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะตั้งแต่ 1+ ขึ้นไป ตรวจด้วย dipstick
-
- ในรายที่อาการรุนแรงตรวจพบเกร็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 ต่อ ลบ.มม.
- ตรวจพบ SGOT และ SGPT สูงกว่าปกติ
- ตรวจพบ cretinine ในเลือดสูง
-
Severe Pre-Elcampsia
ความดันโลหิตสูงก่อนชัก ระดับรุนแรง มีอาการดังต่อไปนี้ ความดันโลหิต systolic มากกว่า 160 มม.ปรอท. หรือ diastolic มากกว่า 110 มม.ปรอท จากการวัดขณะพักซึ่งวัดอย่างน้อย 2 ครั้งที่ห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
โปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 5 กรัมต่อ 24 ชั่วโมง หรือ 3+ หรือมากกว่า จากสองตัวอย่างที่เก็บห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
-
-
-
-
-
การทำงานของตับผิดปกติ (Alanine Aminotransferase, Aspartase เพิ่มขึ้น)
-
-
-
Eclampsia
PIH ที่มีความรุนแรงจนเกิดอาการชักขึ้น เกิดจากการหดเกร็งของเส้นเลือดในสมองอาจทำให้ขาดเลือด และทำให้ชัก
-
เจ็บที่ลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวารุนแรง (เชื่อว่าเกิดจากการตึงขยายของแคปซูลของตับ หรือเลือดออกใต้แคปซูล
-
-
-
-
-
4. Plan
-
Severe Pre-Eclampsia
1.ป้องกันชัก ด้วย50%MgSO4 IV Drip (หยุดให้ 50%MgSO4 ทันทีเมื่อ Pattelar reflex หายไป + RR ช้ากว่า 12-14 ครั้งต่อนาที + Urine < 25 มล.ต่อชม.)
- ลดความดันโลหิตด้วยยา Nifedipine ปรับความดันโลหิตให้อยู่ในช่วง 140/90 – 155/105 mmHg
-
- ป้องกันและภาวะแทรกซ้อน เช่น ไตล้มเหลว ตับ เลือดออกในสมอง DIC น้ำคั่งในปอด
- รับไว้ในหน่วยคลอดครรภ์เสี่ยงสูง ซักประวัติตรวจร่างกายอย่างละเอียด ประเมินการทำงานของไต ตับ ตรวจจอตา
- พักผ่อนเต็มที่ (absolute bed rest) ควรนอนตะแคง
- ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ (continuous EFM)
- ควบคุมความสมดุลย์ของสารน้ำและอีเลคโตรไลท์
Eclampsia
-
-
ระงับอาการชัก และป้องกันการชักซ้ำตามแนวทางของ Severe PIH การระงับชักอาจให้ 50%MgSO4 หรืออาจใช้ Diazepam
-
-
-
-
-
-
-
5. Action/Nursing care
Mild Pre-Eclampsia
-
-
-
อาการนำ ได้แก่ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว เจ็บใต้ลิ้นปี่ หรือใต้ชายโครงขวา และติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
-
-
ดูแลให้ได้รับยา aspirin, calcium เพื่อป้องกันไม่ให้โรครุนแรงขึ้น
-
-
-
7. PDCA, DALI
- การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง จะต้องใช้กระบวนการที่ถูกต้องครบถ้วน ตั้งแต่การประเมินสภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล วัตถุประสงค์การพยาบาล การใช้การพยาบาลและประเมินผล โดยยึดหลักแบบองค์รวม เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่ดี สามารถลดความรุนแรงของโรคได้
- การพัฒนารูปแบบกราดูแลตนเองของสตรีตัั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ต้องคำนึงถึงความแตกต่างทางบริบทสังคม
และวัฒนธรรม เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความตระหนัก
และสามารถเข้าถึงการดูแลตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสม
- ทีมบุคลากรทางสุขภาพ ต้องให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและอันตรายที่จะเกิดขึ้นทั้งมารดาและทารกในครรภ์เป็นระยะ เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการดูแลตนเอง เพื่อลดความรุนแรงของโรค
-