Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ เตียง 14 CFx. LtDER with DRUJ - Coggle…
ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ เตียง 14
CFx. LtDER with DRUJ
Close Fracture Left Distal end radius with Distal radioulnar Joint
พยาธิสภาพ
เมื่อกระดูกหักกล้ามเนื้อที่ติดอยู่กับกระดูกจะฉีกขาดฉีกขาดหดเกร็งของกล้ามเนื้อขึ้นกล้ามเนื้อจะดึงกระดูกชิ้นที่หักให้เดลื่อนจากตำแหน่งเดิมเช่น กระดูกตันขาหัก กระดูกชิ้นที่หักส่วนปลาย (distal portion) จะเคลื่อนออกไปจากแรงดึงและการหดตัวของกล้ามเนื้อชิ้นกระดูกที่หักอาจหักเกยกันหักเป็นมุมหรือเกิดการ นอกจากนั้นเมื่อกระดูกหักก็จะทำให้เยื่อหุ้มกระดูกลอดเลือดที่เปลือกกระตูก (cortex) และเนื้อเยื่ออ่อนรอบ ๆ กระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บร่วมด้วย มีเลือดออกจากเนื้อเยื่ออ่อน และปลายกระดูกที่ทักจะมีกัยนเลือด (nematoma) เกิดขึ้นระหว่างปลายชิ้นกระดูกที่หักและใต้เยื่อหุ้มกระดูก ส่วนปลายของกระดูกที่หักจะเกิดการตายและมีปฏิกิริยาของการอักเสบเกิดขึ้น มีหลอดเลือดขยายตัว มีบวม ปวด และทำหน้าที่ไม่ได้ตามของชิ้นกระดูกปกติและมีเม็ดเลือดขาวมาที่บริเวณอักเสบ ซึ่งกระบวนการอักเสบ เมื่อกระดูกหักจะเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการซ่อมแซมกระดูกที่หักเพื่อให้เกิดการดิดของกระดูก
อาการ
ㆍปวด บวม บริเวณทีหัก ㆍการทำหน้าทีลดลง หรือทำหน้าที่ไม่ได้ ㆍไม่สามารถลงน้ำหนักตำแหน่งที่หัก หรือ ใช้งานอวัยวะส่วนนั้นไม่ได้
ㆍ อาจพบลักษณะผิดรูปเช่น โก่ง นูน ㆍมีเสียงขัดเสียดสีกันของปลายชิ้นกระดูกที่หัก ㆍมีบาดแผลเปิดในรายกระดูกหัก
ปวด บวม บริเวณข้อมือซ้าย
สาเหตุและปัจจัย
สาเหตุของการเกิดกระดูกหักจะแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ
Low-energy trauma ส่วนใหญ่จะเกิดจากการล้มแล้วใช้มือยันโดยผู้ป่วยจะมีภาวะกระดูกพรุนร่วมดว้ย
High-energy trauma ผู้ป่วยอาจจะมีหรือไม่มีภาวะกระดูกพรุนอยู่ก่อน แต่อุบัติเหตุมีความรุนแรงมากทำให้มีแรงมากระทำ ต่อกระดูกมากเพียงพอที่ทำให้เกิดกระดูกหักโดยในกลุ่มนี้มักจะมีการบาดเจ็บต่อ soft tissue ร่วมดว้ย
Low-energy trauma ส่วนใหญ่จะเกิดจากการล้มแล้วใช้มือยัน
การตรวจวินิฉัย
1.การตรวจร่างกาย
ㆍลักษณะผิดรูป ตรงตำแหน่งที่กระดูกหัก มีลักษณะผิดรูปจากการหมุนของชิ้นกระดูกที่หักหรือมีกระดูกโก่ง
ㆍ บวม เกิดจากการมีเลือดออกมาจากเนื้อเยื่อรอบ ๆ กระดูกหัก เป็นผลจากการมีเลือดออกได้ผิวหนังตรงบริเวณที่หัก
ㆍการหดเกร็งของกล้มเนื้อ มักเกิดขึ้นร่วมกับกระดูกหักการหดเกร็งของกล้ามเนื้อจะช่วยดามกระดูกที่หักไว้ตามธรรมชาติ เพื่อมิให้มีการเคลื่อนของชื้นกระดูกมากขึ้นไปอีก
2.การตรวจร่างกาย
การเจาะเลือดอาจพบ ค่า ESR และCRP ที่เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากการอักเสบของกระดูกที่หัก
3.การตรวจถ่ายภาพทางรังสี
ㆍการเอ็กซเรย์ (X-ray)
ㆍการถ่ายภาพด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (CT sacan)
บวม ลักษณะผิดรูป ตรงตำแหน่งที่กระดูกหัก
ความหมาย
Fracture distal end radius คือภาวะกระดูกหักที่เกิดในส่วนของ metaphysis ของปลายกระดูกradius ซึ่งจะอยู่ในช่วงประมาณ 2 ซม. เหนือต่อradio-carpal joint กระดูกหหักชนิดนี้พบไดบ่อยโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีภาวะกระดูกพรุนร่วมด้วย
การรักษา
เป้าหมายในการรักษากระดูกหักที่สำคัญคือ การจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ (reduction)ให้กระดูกส่วนนั้นมีการเคลื่อนที่ (immobilization) เพื่อให้ปลายกระดูกที่หักเชื่อมตัดกันในลักษณะที่ใกล้เคียงกายวิภาคเดิมมากที่สุดจนมีความแข็งแรงและสามารถเคลื่อนไหวหรือรับน้ำหนักได้เป็นปกติ ซึ่งมีหลักการดังนี้
Operative methods
เป็นการรักษากระดูกหักด้วยวิธีการผ่าตัดเพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่(open reduction)เมื่อใช้วิธีแรกไม่ได้ผล และดาม/ดึง (immoblize)งการยึดนี้อาจยึดไว้ภายใน (internal fixation)เรียกว่า Open ReductionInternal Fixation (ORIF) หรืออาจยึดไว้ภายนอก (externalfixation) ก็ได้เรียกว่า open reduction external fixation (OREF)
การผ่าตัด Open Reduction and Intrenal Fiation with Locking Compression Plat
Rehabilitation
การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายผู้ป่วยภายหลังกระดูกหักป็นการช่วยให้ส่วนที่ได้รับบาดเจ็บสามารถทำหน้าที่ได้ ซึ่งควรทำในทันทีที่สามารถกระทำได้ หลังจากได้รับการจัดกระดูกส่วนที่หักเข้าที่แล้วไม่ว่ากรณีได้รับการผ่าตัดหรือไม่ก็ตามโดยการให้ผู้ป่วยออกกำลังกายเพื่อป้องกันมิให้เกิดภาวะแทรกช้อนตามมา ข้อติดแข็ง หรือกล้ามเนื้อลีบ
Conservative methods เป็นวิธีการรักษากระดูกหักด้วยการไม่ผ่าตัด(closed reduction) โดยการจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ตามตำแหน่งเดิมอาจด้วยการดึงภายนอกด้วยมือและให้อวัยวะส่วนนั้นอยู่นิ่งๆด้วยการใส่เผือกเพื่อรอการติดของกระดูก
ภาวะแทรกซ้อน
1.ภาวะซ็อกจากการเสียเลือด
2.การปาดเจ็บของเส้นประสาทและ หลอดเลือดดำ
3.ภาวะไขมันอุดตันหลอดเลือดที่ปอด
4.ภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง
5.ภาวะที่มีการศูญหายของกระดูก และเนื้อเยื้อ
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ อายุ 69 ปี เตียง 14 สถานภาพ หม้าย เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนาพุทธ ไม่ได้ประกอบอาชีพ
อาการสำคัญ ปวดข้อมือซ้ายมาก ก่อนมาโรงพยาบาล 1 ชั่วโมง
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ลื่นล้มเอามือซ้ายยันพื้น ปวด บวมข้อมือซ้าย
วินิฉัยโรคแรกรับ Cloer Fracture Left Distal End Radius with Distal Radioulnar Joint
การผ่าตัด Open Reduction and Intrenal Fiation with Locking Compression Plat วันที่ 19/พ.ค./65
ข้อวินิฉัยทางการพยาบาล
2.เตรียมความพร้อมผู้ป่วยใส่เฝือกกลับบ้าน
จุดมุ่งหมายและเกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยสามารถบอกสิ่งที่ควรทำได้มากกว่า 60%
กิจกรรมการพยาบาล
D : Diagnosis ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น สาเหตุ และอาการแสดง
กระดูกข้อมือหัก สาเหตุของการเกิด เกิดจากอุบัติเหตุ การล้มมือยันพื้น อาการปวด บวม บริเวณทีหัก อาจพบลักษณะผิดรูป โก่ง นูน หรือแผลในรายที่กระดูกหักออกข้างนอก
E : Environment แนะนำให้ผู้ป่วยดูแลสุขอนามัย และความสะอาด
แนะนำการดูแลความสะอาดของร่างกายอาบน้ำ แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง
จัดของเป็นสัดส่วนไม่วางเกะกะทางเดิน ในทางเดินมีแสงสว่างที่เพียงพอ จัดให้ผู้ป่วยนอนชั้นล่าง ป้องกันการพลัดตก
ล้างมือให้สะอาด ก่อนการรัปประทานอาหาร
T : Treatment แนะนำการปฏิบัติตัวหลังการได้รับยา
และการดูแลเฝือก ดูแลแผล และเวลาปวด
ให้สังเกตอาการหลังได้รับยาว่าอาการที่เกิดขึ้นเป็นเพียงผลข้างเคียงของยาหรือเป็นอาการแพ้ยา
แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
การดูแลเฝือก
หลังใส่เฝือก ป้องกันเฝือกแตกหัก หรือ บุบ ในระหว่างที่เปียกชื้นให้วางเฝือกบนวัสดุนิ่ม เช่น หมอน หลีกเลี่ยงการวางเฝือกบนวัสดุแข็ง เช่น พื้นปูน ประคองเฝือกในระหว่างที่เคลื่อนย้าย หรือ ลุกจากเตียงอย่างระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการกดหรือบีบเฝือกเล่น วางเฝือกในที่โล่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่ใช้ผ้าห่มคลุมบนเฝือก การใช้พัดลมเป่าจะช่วยให้เฝือกแห้งเร็วขึ้น ห้ามนำเฝือกไปผิงไฟหรือ เปียกน้ำ
M : Medication อธิบายยาที่ผู้ป่วยได้รับ
Paracetamol 500mg tab
ปวดลดไข้
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน มีอาการเหงื่อออก เบื่ออาหาร
Hydralazine HCI 25 mg tab
ยาขยามหลอดเลืด
ผลข้างเคียง ใจสั่น บวม ชา สับสน
Amlodipine 10mg 1x1 oral pc
ยาลดความดันโลหิต
อาการข้างเคียง มึนงง ปวดศีรษะ บวมน้ำ
Cephalexin (500) 1x4oral pc
ยาฆ่าเชื้อ
ผลข้างเคียงคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ปวดตามข้อ
Losartan (50) 1x2 oral pc
ยาลดความดันโลหิต
ผลข้างเคียงปวดหัว วิงเวียน รู้สึกเหนื่อยล้า หมดแรง นอนไม่หลับ
O : Out patient การมาตามนัดและอาการที่ควรมาพบแพทย์
แนะนำให้ผู้ป่วยมาตรวจตามนัดเพื่อติดตามความก้าวหน้าของโรค
ถ้ามีอาการผิดปกติดังนี้ ให้มาก่อนนัด
1.ปวดบริเวณที่ใส่เฝือกมากขึ้น
2.นิ้วมือหรือเท้าข้างที่เข้าเฝือกมีสีเขียวคล้ำหรือ ซีด บวมมากขึ้น หรือ ชา
3.ไม่สามารถขยับนิ้วมือหรือนิ้วเท้าข้างที่ใส่เฝือก
4.มีเลือด น้ำเหลือง หรือ หนอง ไหลออกมาจากเฝือก หรือ มีกลิ่นเหม็น
5.เฝือกหลวม แตกร้าว หรือ หลุด
6.ถ้ามีอาการปวด ระบม รับประทานยาแก้ปวดไม่หาย ควรรีบมาโรงพยาบาล
7.ถ้ามีอาการชา นิ้วมือ หรือนิ้วเท้าซีด หรือม่วงคล้ำ ควรรีบมาโรงพยาบาล
H : Heath แนะนำการดูสุขภาพและการกินที่ส่งเสริมการหายของแผล
แนะนำให้ผู้ป่วย เดินอย่างระมัดระวัง มีที่จับเป็นหลักแหล่ง รับประทานอาหารตรงเวลา กินอาหารที่ส่งเสริมการหายของแผลรับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์ วิตามิน และแคลเซียม เพื่อเสริมสร้างส่วนที่สึกหรอให้ฟื้นสู่สภาพปกติได้รวดเร็วขึ้น
D : Diet แนะนำการรับประทานอาหารที่หลากหลายสำหรับผู้ที่มีภาวะกระดูกหัก
การกินอาหารที่เหมาะสม และมีประโยชน์ อาจช่วยให้กระดูกกลับมาสมานกันได้เร็วขึ้นและสามารถเชื่อมต่อกันได้
แคลเซียม
นม
โยเกิร์ต
ผักกาดกวางตุ้ง
ถั่วเหลือง
ถั่วฝัก
โปรตีน
เนื้อ
ปลา
นม
วิตามินดี
แซลมอน
น้ำมันตับปลา
ปลาซาร์ดีน
ตับ
นมและโยเกิร์ต
ไข่แดง
น้ำส้ม
โพแทสเซียม
2 more items...
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
แอลกอฮอล์
การดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงที่กระดูกหักจะไปชะลอกระบวนการเยียวยากระดูก กระดูกจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ได้ช้าลง
กาแฟ
การดื่มกาแฟมากกว่า 4 แก้วต่อวันสามารถชะลอการฟื้นตัวของกระดูกเล็กน้อย
เกลือ
การใส่เกลือในอาหารมากเกินไปสามารถทำให้คุณสูญเสียแคลเซียมในปัสสาวะมากขึ้น
ข้อมูลสนับสนุน
แพทย์มีแผนการรักษาให้กลับไปรักษาตัวต่อที่บ้าน
1.ผู้ป่วยพร่องความรู้ในการปฏิบัติตนในขณะเข้าเฝือก
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยใส่เฝือกที่แขนด้านซ้าย
จุดมุ่งหมายและเกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยสามารถบอกถึงการปฎิบัติที่ถูกต้องได้มากกว่า 60 %
กิจกรรมการพยาบาล
การออกกำลังกายขณะใส่เฝือก การเกร็งกล้ามเนื้อ การกระดิ้กนิ้ว
อาการผิดปกติ
1.ปวดบริเวณที่ใส่เฝือกมากขึ้น
2.นิ้วมือหรือเท้าข้างที่เข้าเฝือกมีสีเขียวคล้ำหรือ ซีด บวมมากขึ้น หรือ ชา
3.ไม่สามารถขยับนิ้วมือหรือนิ้วเท้าข้างที่ใส่เฝือก
4.มีเลือด น้ำเหลือง หรือ หนอง ไหลออกมาจากเฝือก หรือ มีกลิ่นเหม็น
5.เฝือกหลวม แตกร้าว หรือ หลุด
แนะนำไม่ให้เฝือกโดนน้ำ ห้ามแกะ หรือห้ามเอาออกก่อนกำหนด
บอกผู้ป่วย ให้ยกแขนสูงเอาแขนไว้บนหมอน ห้ามค่ำมือ
บอกผู้ป่วยให้ทราบถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากการเข้าเฝือก
1.เฝือกหลวมเนื่องจากอวัยวะในเฝือกยุบบวมลง
2.เฝือกคับหรือแน่นเกินไป จากการบวมของเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บ
3.การเข้าเฝือกนานเกินไป ทำให้ข้อยึดติดแข็ง
4.การถอดเฝือกออกเร็วเกินไป โดยที่กระดูกยังไม่ติด ทำให้มีการเคลื่อนของบริเวณกระดูกที่หัก อาจเกิดกระดูกติดผิดรูป ติดช้า หรือ ไม่ติด
อย่าให้เฝือกกระทบของแข็งโดยตรงจนแตกยุบ
สรุปอาการกรณีศึกษา
ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ อายุ 69 ปีมาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดข้อมือซ้ายมาก ก่อนมาโรงพยาบาล 1 ชั่วโมง แรกรับวินิฉัยClose Fracture Left Distal End Radius with Distal Radioulnar Joint ได้รับการผ่าตัด Open Reduction and Intrenal Fixation with Locking Compression
วันที่ 19/พ.ค./65 มีแผลที่แขนซ้ายตรงข้อมือซ้าย on Long Arm slab มีอาการปวดขณะขยับแขน วันนี้ผู้ป่วยกลับบ้าน มี Long Arm slab กลับไปด้วย
ข้อวินิฉัยสำหรับผู้ป่วย คือ
1.ผู้ป่วยขาคความรู้ในการปฏิบัติตนในขณะเข้าเฝือก
2.ผู้ป่วยขาดความรู้ความมั่นใจเกี่ยวกับการปฎิบัติตนเมื่อกลับบ้านวางแผนผู้ป่วยกลับบ้านตามหลัก D-METHOD
แบบแผนสุขภาพ(ที่ผิดปกติ)
แบบผนที่ 10 การเผชิญความเครียดและความทนต่อความเครียด
ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวล และดูเศร้าตลอดการให้ข้อมูล ผูํป่วยให้ข้อมูลว่า ตนเองอยู่คนเดียวลูกติดสารเสพติด ไม่ดูแล รู้สึกทุกข์ ไม่มีใครสนใจ ข้าวไปหากินเองไม่ได้ ได้ข้าวจากวัดมากิน ผู้ป่วยไม่อยากออกจากโรงพยาบาล เพราะต้องไปดิ้นรนหากินเองอีก
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
ความรู้สึกมีคุณค่า/ความถาคภูมิใจตนเอง : ผู่ป่วยบอกว่าตนไม่มีคุณค่ามนตนเองเนื่องจากลูกไม่ต้องการและไม่เลี้ยงดู
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยของตน : "รู้สึกท้อว่าแก่แล้วทำไมถึงต้องมาเป็นแบบนี้ด้วย"
การประเมินสภาพ : ผู้ป่วยมีพฤติกรรม สีหน้ากังวัลเวลาตอบคำถาม
แบบผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ภาวะสุขภาพครั้งนี้ : ปวดข้อมือซ้าย 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
สาเหตุของการเจ็บป่วยครั้งนี้ : ลื้นล้มเอามือซ้ายยันพื้น ปวดบวมข้อมือข้างซ้าย
แบบแผนที่ 8 แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
ผูัป่วยอยู่บ้านคนเดียว หากินเองไม่ได้เนื่องจากมีอายุเยอะแล้ว กับข้าวที่ได้กินที่วัดเอามาให้