Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด
ความหมายของการคลอด
การคลอดปกติอายุครรภ์อยู่ช่วง 37-42 wk. การคลอดออกมาโดยเอาศีรษธออก(Vertex presentation OA ) กระบวนรการคลอดเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ระยะเวลาลเจ็บครรภ์คลอด จนกระทั่งคลอดรวมกันไม่เกิน 24 ชม. ไม่มีภาวะแทรกซ้อนตลอดการคลอด เช่นการตกเลือดก่อนคลอด/หลังคลอด มดลูกปริ้น
ระยะของการคลอด
ระยะที่1 First stage of labor
ระยะที่ปากมดลูกเปิดช้า laten phase ครรภ์แรกใช้เวลา 8-24 ชม.เฉลี่ย 12 ชม. ครรภ์หลังใช้เวลา 4-12 ชม.เฉลี่ย 6ชม.
ระยะมดลูกเปิดเร็ว Active phase ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 1.2 cm.ต่อ ชม. เฉลี่ย 4.6 ชม. ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 1.5 cm.ต่อ ชม. เฉลี่ย 2.4 ชม.
ระยะที่2 ของการคลอด Stage of expulsion
ปากมดลูกเปิด 10 cm.-ทารกคลอด ครรภ์แรกไม่เกิน 2 ชม. ครรภ์หลังไม่เกิน 1 ชม.
ระยะที่3 ของการคลอด Stage of placenta
ทารกคลอดกและรกคลอด ไม่ควรเกิน 30 นาที ถ้า 20 นาทีรกไม่คลอด มีโอกาสตกเลือดหลังคลอด
ระยะที่ 4 ของการคลอด Fourth stage of labor
รกคลอดครบ-2 ชม.หลังคลอด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
Mathernal factor theories
เมื่ออายุครรภ์ครบกำหนด amnion chorion และ decidua จะปล่อยสาร prostaglandin ทำให้มดลูกมีการหดรัดตัวและเจ็บครรภ์คลอด ฮอร์โมน Oxitocin จะถูกหลั่งจากต่อมใต้สมอง ฮอร์โมน Estrogen เพิ่มขึ้น 34-35 wk. (progesterone ลดลง)
Fetal factor theories
ACTH จะกระตุ้น adrenal cortex ของทารกให้หลั่ง cortisol ผ่านรกเข้าสู่ระแสโลหิตของแม่ ทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
ปัจจัยอื่นๆ
การตึงตัวของมดลูก(Stretched uterus) แรงดันปากมดลูก(Pressure on cervix) การลดลงของปริมาณน้ำคร่ำ การเสื่อมสภาพของรก การติดเชื้อ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการคลอด
Power
แรงหดรัดตัวของมดลูก(Uterine contraction) ; แรงเบ่งของผู้คลอด Bearing down effort
passage (ลักษณะช่องเชิงกราน)
Soft passage
ช่องทางคลอดยืดขยายได้ มีความอ่อนนุ่ม มีเลือดมาเลี้ยง ส่งผลต่อกลไกการคลอด
Passenger
ทารก รก น้ำคร่ำ
Lie
Position
Occiput anterior ถึงจะคลอดได้
Presentation
Fetal part
2 more items...
ลักษณะทางกายภาพ
ส่วนสูง
อายุ
น้ำหนัก
ความพิการ
สภาพร่างกาย
ความอ่อนล้า ภาวะขาดน้ำจากการNPO การได้รับยาระงับความรู้สึก ทำให้การคลอดล่าช้า
การบาดเจ็บที่สะโพก กระดูกเชิงกราน
ฺBMI มากกว่า30 จะทำให้คลอดยาก
อายุน้อยกว่า 17 ปี ช่องเชิงกรานพัฒนาไม่สมบูรณ์
ถ้าส่วนสูงน้อยกว่า 145 cm.จะทำให้ศีรษะเด็กไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา จิตสังคมของผู้คลอด
ระยะที่1ของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงที่มดลูก Upper segment, lower segment
การหดรัดของมดลูกจะหดตัวเป็นระยะๆ มีการหดตัวและคลายตัวสลับกันไป หลังจากการคลายตัวแต่ละครั้งความยาวของเซลล์กล้ามเนื้อมดลูกจะหดสั้นและหนาตัวขึ้น
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อเอ็นต่างๆที่ยึดมดลูก
round ligament
เกาะทางด้านหน้าของมดลูก 2ข้าง เมื่อหดสั้นจะดึงมดลูกเข้ามาด้านหน้า ,
Utero sacral ligament
เกาะอยู่ทางด้านหลังของคอมดลูกบริเวณระดับของ internal os ช่วยดึงส่วนล่างของมดลูก,
Cardinal ligament
ยึดสองข้างของส่วนล่างมดลูก
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก Effacement (การเปิดบางของปากมดลูก) , Dilatation ( การเปิดขยายของปากมดลูก) กลไกที่ทำให้ปากมดลูกถ่าขยาย 1.การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก 2.ความดันในถุงน้ำน้ำคร่ำ (ฺBag of fore water) 3. แรงถ่วงดันจากส่วนนำของทารก (Fetal axis pressure)
Ferguson's reflex การที่แรงดันจากส่วนนำของทารกมากดที่บริเวณปากมดลูก เกิดการกระตุ้นการหลั่ง Oxitocin ทำให้มดลูกมีการหดรัดตัวมากขึ้น มีผลให้ปากมดลูกเปิดขยายและบางมากขึ้น
Show การเปลี่ยนแปลงของมดลูก
1.Mucous plug เกิดจาก cervical canal ซึ่งบุด้วย mucosa จะหลั่งมูกเหนียวที่ External OS
2.Mucous show ส่วนนำเคลื่อนมากด Cevical canal ทำให้หลั่งมูกใสมากขึ้น
1 more item...
การเปลี่ยนภายในถุงน้ำคร่ำ ; Hydrostatic pressure (แรงดันภายในโพรงมดลูก) Fetal axis pressure ยอดมดลูกหดรัดผลักดันทารก , SOB กดส่วนล่างของมดลูก และปากมดลูก จะทำให้อุดกั้นน้ำคร่ำ (Ball valve action ) มี 2 ส่วน Fore water , Hind water
การเปลี่ยนแปลงของทารกในครรภ์ ; Fetal axis pressure , Molding , การบวมของหนังหุ้มกะโหลกศีรษะ Caput succedaneum , Cepha hematoma
ระยะที่ 2 ของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก , การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง และกระบังลม , การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นที่เชิงกราน , การเคลื่อนของทารกผ่านช่องทางคลอด
ระยะที่3 ของการคลอด - ทารกคลอด-รกคลอด
การลอกตัวของรก 2 ชนิด 1. Schultze's method การลอกตัวจะเกิดขึ้นตรงกลางของรก ทำให้เลือดออกอยู่ด้านหลังรก (Retroplacenta bleeding) จะไม่เห็นเลือดออก
2.Matthews duncan's method การลอกตัวของรกจะเกิดขึ้นโดยเริ่มที่ริมรก ทำให้เกิดการฉีกขาดของผนังมดลูก เลือดออก 30-60cc.
อาการแสดงของรกลอกตัว ; Uiterine sign มดลูกมีการหดตัวแข็งขนาดเล็กลงจากแบนเป็นกลม และลอยตัวศูงขึ้นเหนือระดับสะดือประมาณ1-2 finger base , Vulva sign หลังคลอดทารก จะเห็นเลือดออกทางช่องคลอด เป็นการลอกตัวแบบ Duncan's method , Cord sign การเคลื่อนต่ำของสายสะดือ
Placenta expulsion เมื่อรกลอกตัวสมบูรณ์ มดลูกจะมีการหดรัดตัว ดันให้รกเคลื่อนลงมาสู่มดลูกส่วนล่าง หรืออาจมาจากส่วนบนของช่องคลอด มดลูกส่วนบนลอยสูงขึ้นจากตำเเหน่งเดิม โดยจะอยู่เหนือระดับสะดือหรือต่ำกว่าระดับสะดือเล็กน้อย มดลูกส่วนบนที่ไม่มีรกจะหดตัวเป็นก้อนกลมแข็ง(Globular)
ระยะที่4 ของการคลอด
ร่างกายพยายามปรับความสมดุล
มดลูกหดรัดตัว - แผลภายในโพรงมดลูก - อ่อนเพลีย - ความจุของกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น แต่ความไวลดลง - ฝีเย็บฉีกขาด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระบบต่างๆ
1.ระบบไหลเวียนโลหิต ระยะที่1 ความดันโลหิตจะเพิ่มขึ้น 10 mmHg. ระยะที่ 2 เมื่อผู้คลอดเบ่งคลอด ความดัน SBP เพิ้่มขึ้นประมาณ30 mmHg. DBP เพิ่มขึ้นประมาณ 25 mmHg.
ระยะที่3 ความดันโลหิตลดลงสู่ปกติหรือต่ำกว่าปกติเล็กน้อย อัตราการเต้นของชีพจรมีการเปลี่ยนแปลงในขณะมดลูกหดรัดตัว อัตราการหายใจเพิ่มข้นเล็กน้อยในระยะคลอด ผลมาจาก Metabolism อุณหภูมิ ร่างกายสูงขึ้นเล็กน้อยในระยะคลอด
2.ระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal system) ; การเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหารและดูดซึมอาหารจะช้า อาหารที่รับประทานก่อนเจ็บครรภ์คลอดจะค้างอยู่หลายชั่วโมง
3.ระบบโลหิต (Hemopoietic system) ระยะคลอดจะมีการเปลี่ยนแปลง Hb.เพิ่มขึ้น เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
4.ระบบหายใจ การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนอากาศจะเพิ่มมากขึ้นในช่วงตั้งครรภ์
5.ระบบทางเดินปัสสาวะ ; ความดันจากส่วนนำของเด็กที่เคลื่อนต่ำลงจะทำให้ปัสสาวะบ่อย
6.ระบบเผาผลาญ ร่างกายมีการเผาผลาญน้ำตาลเนื่องมีการทำงานของกล้ามเนื้อลายมากขึ้น
7.ระบบต่อมไร้ท่อ ผลจากฮอร์โมน estradiol และ plostaglandin ส่งผลให้ปากมดลูกอ่อนนุ่มและบางลง
ภาวะจิตสังคมในระยะคลอด
ความวิตกกังวล
การแยกตัวจากสังคม -การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา - การขาดความรู้เกี่ยวกับการคลอด - เหตุการณ์ไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง
ความกลัว
เจตคติทางลบต่อการคลอด - รู้สึกถูกคุกคาม เช่นการถูกจำกัด การให้นอนพักตลอดเวลา ความกลัวเกี่ยวกับทารก - กลัวสิ่งที่ไม่รู้ การถูกแยกให้อยู่เพียงลำพัง การอยู่ในสถานที่ไม่คุ้นเคย
ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัว
การรับรู้เหตุการณ์อย่างถูกต้อง - การได้รับการช่วยเหลือ ให้กำลังใจ จากผู้ใกล้ชิด - การปรับตัว นำมาใช้เมื่อมีความเครียดอย่างเหมาะสม การให้ข้อมูลความก้าวหน้าของการคลอด