Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฏิสนธิ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การปฏิสนธิ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การปฏิสนธิ
กระบวนการที่เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงและเซลล์สืบพันธุ์เพศชายที่เจริญเต็ที่ มีการผสมรวมกันเป็น zygote ซึ่งการปฏิสนธิจะเกิดตรงบริเวณส่วนของท่อนำไข่ (Ampulla)
ตัวอสุจิผ่านชั้นของ corona radiata จะทำให้ไข่แข็ง อสุจิจะใช้เอนไซม์ จากส่วน acrosome เจาะทะลุผ่าน Zona pellucida แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลง ของไข่หลังการปฏิสนธิ 1. เกิด Zona reaction 2. การแบ่งตัวแบบ miosis
Male pronucleus และ Female pronucleus จะมารวมกันตรงกลาง โดย nucleus membrane ทั้ง 2 เซลล์ จะมารวมกันเป็น Chromosome ที่สมบูรณ์ (46XX , 46XY) ซึ่งจะเจริญเป็น zygote พร้อมที่จะแบ่งตัวต่อไป
Zygote จะมีการเคลื่อนคชตัวแบบ peritalsis ผ่านไปตามท่อนำไข่ ขณะที่มีการเคลื่อนตัว จะมีการแบ่งตัวแบบ miosis
พัฒนาการของทารกในครรภ์
ระยะก่อนตัวอ่อน (Pre embryonic stage)
2.ระยะตัวอ่อน Embryonic stage
3.ระยะทารก Fetal stage
ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 8 ขึ้นไป จะเรียกตัวอ่อนว่า Fetus
สัปดาห์ที่9-12 ทารกจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ใบหน้าชัดเจน เเขนขายาว เริ่มมีเล็บอ่อน เริ่มแยกเพศได้ มีการสร้างเม็ดเลือดแดง มีการเคลื่อนไหว มีความยาวประมาณ 7-9cm น้ำหนัก 45 กรัม
สัปดาห์ที่13-16 period of rapid fetal growth เริ่มมีการสร้างขนอ่อน โดยเฉพาะศีรษะ ผิวหนังบางมองเห็นเส้นเลือดชัดเจน มีการถ่ายขี้เทา (meconium) ทารกมีการกลืนน้ำคร่ำ มีความยาว 18 cm. น้ำหนัก 100 กรัม ระยะนี้สามารถ ultra sound ดูเพศได้
สัปดาห์ที่ 17-20 มีขนอ่อนทั่วตัว เริ่มมีไขคลุมผิวหนัง มีผมบนศีรษะ มีขนตา เล็บยาวขึ้น ตัวยาวประมาณ 25-30 cm. น้ำหนัก 200-450 กรัม ขาสองข้างยาวเท่ากัน
สัปดาห์ที่ 21-24 ทารกยาว 27-35 cm น้ำหนัก 550-800 กรัม ร่างกายได้สัดส่วน ผิวหนังเริ่มเหี่ยวย่น มองดูโปร่งใส มีสีชพูจนถึงสีแดง ปอดเริ่มมีการสร้าง surfactant ระบบหายใจยังทำงานไม่เต็มที่
1 more item...
สัปดาห์ที่ 4-8 จะมีการเปลี่ยนแปลงเรียกว่า embryonic folding เป็นการเปลี่ยนแปลง germ layers ของ endoderm mesoderm ectoderm
สัปดาห์ที่4 มีการงอตัว C-shape curve การเจริญของอวัยวะต่างๆ เช่น ท่อยประสาท กล้ามเนื้อ กระดูกสันหลัง เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่4 จะเกิด ตุ่ม แขน ขา เริ่มมีการเจริญของ ตา หู ปาก คอหอย หลอดอาหาร หลอดลม หลอดเลือด aorta ทวารหนัก สายสะดือ เยื่อบุภายในอวัยวะต่างๆ Cardiovascular system เริ่มมีการสร้างมีการไหลเวียน ระหว่างตัวอ่อนกับ Chorionic villi มีการพัฒนา neural plate
สัปดาห์ที่5 มีการเจริญเติบโตเพียงเล็กน้อย ส่วนหัวเริ่มมีการเติบโตของสมอง เริ่มมีนิ้วือ มีความยาว 8 mm. น้ำหนัก 800 mg.
สัปดาห์ที่ 6 ตัวอ่อนยาว 12 mm. หัวจะใหญ่กว่าส่วนลำตัวมาก ปรากฏนิ้วมือนิ้วเท้า หูส่วนนอกนูนขึ้นทั้ง 2 ข้าง หัวใจจะมีการแบ่งห้อง ปอดเริ่มทำงาน
สัปดาห์ที่7 ตัวอ่อนยาว 18mm. เริ่มมีขา เท้า เปลือกตา หูส่วนนอก ลำใส้ โครงสร้างส่วนสำคัญจะเจริญเรียบร้อย มองเห็นลูกตาชัดขึ้น มีการแยกชัดเจนของทางเดินอาหารและลำใส้ ทางเดินปัสสาวะ อวัยวะสืบพันธุ์ และเริ่มมีความแตกต่างของเพศ
สัปดาห์ที่8 ใบหน้าชัดเจนมากขึ้น ตา หุ แขน ขา ชัดเจน นิ้วเริ่มแยกกันได้ เริ่มมีการสร้างอวัยวะเพศภายนอก แต่ยังแยกเพศไม่ได้ สายสะดือสมบูรณ์ขึ้น มีการเจริญเติบโตของกระดูก long bone
ประมาณวันที่ 4-5 หลังการปฏิสนธิ morula เดินทางมาถึงโพรงมดลูก จะมีสารเหลว (fluid) จากโพรงมดลูก ผ่านเข้ามาใน morula ทำให้เกิด blastocyst cavity และเรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า Blastocyst
ประมาณวันที่ 5-6 จะเริ่มมีการฝังตัว(Implantation)หลังการปฏิสนธิ blastocyst ที่ลอยอยู่ จะเคลื่อนตัวมาสัมผัสกับเยื่อบุโพรงมดลูกส่วนบน
ประมาณวันที่8 เยื่อบุโพรงมดลูกส่วน trophoblast จะพัฒนาเป็น cytotrophoblast และ syncytiotrophoblast
Syncytiotrophoblast จะมีลักษณะคล้ายนิ้วมือ ที่แทงทะลุเข้าไปใน Endometrial epithelium และ endrometrium stoma และมีการสร้างสารมาย่อยทำลาย endrometrium ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรียกว่า decidua
ระยะ embryoblast มีการฝังตัวที่เยื่อบุผนังมดลูก (endometrium) จะมีเลือดออกทางช่องคลอด(Implantation bleeding หรือ hartmannn's sign)
สัปดาห์ที่2 Syncytiotrophoblast จะย่อย endometium ให้เป็น decidua เริ่มมีการไหลเวียน uteroplacental circulation และ lacunar network เป็น intervillous space เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและสารอาหาร
decidua คือการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก ทำให้เยื่อบุมดลูกหนาขึ้นมีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้นจากฮอร์โมน progesterone โดยแบ่งเยื่อบุมดลูกเป็น 3ชั้น 1.decidua basalis 2.decidua capsularis 3.decidua vera
การฝังตัว syuncytiotrophoblast ฝังตัวลงใน decidua และ cytotrophoblast จะงอกตามชั้นของ syncytiotriphoblast เรียกว่า primary (Chorionic) villi แผ่ตัวฝังกระจายใน decidua จะเกิดช่องว่าง เรียกว่า lacuna ซึ่งเป้นจุดเริ่มต้นของการไหลเวียนของเลือดระหว่างมดลูกและรก ต่อมาprimary villi จะเจริญเข้าไปใน lacuna ทำให้เกิดเป็นแอ่ง เรียกว่า Intervillous space ทำหน้าที่้เปลี่ยนแปลงสารอาหารและออกซิเจน และรับเลือดเสียจากทารกเข้าหลอดเลือดดำ
1 more item...
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
พัฒนาการของรก (Placenta)และเยื่อหุ้มรก(chorion)
decidua basalis เป็นชั้นที่มีการฝังตัวของ blastocyst ประกอบด้วยชั้น spongiosa และ basalis จะเป็นชั้่นที่ syncytiotrophoblast ไม่สามารถทำลายได้อีก
decidua capsularis หรือ decidua reflexa เป็นเยื่อบุผิว ที่คลุม embryo ประกอบด้วยโพรงมดลูกชั้น compacta และส่วนของชั้น spongiosa
decidua vera เป็นเยื่อบุโพรงมดลูกในส่วนที่เหลือจาก decidua basalis และเชื่อมติดกับ decidua capsularis ชั้นนี้จะประกอบไปด้วยเยื่อบุมดลูกครบทุกชั้น
สัปดาห์ที่2 syncytiotrophoblast ฝังตัวใน decidua ทำให้เกิดช่องว่าง lacuna และเพิ่มจำนวนตาม syncytiotrophoblast ย่อยทะลุเส้นเลือดของเยื่อบุมดลูกทั้งเส้นเลือดดำและเส้นเลือดแดง จะมีกระแสเลือดมารดามาขังอยู่ในแอ่ง เป็นจุดเริ่มต้นของระบบไหลเวียน
สัปดาห์ที่8 decidua capsularis จะีเลือดมาเลี้ยงน้อยลง จะสลายเป็นเยื่อหุ้มบางๆ ( Chorion leave ) สำหรับ villus ที่อยู่ใกล้กับ decidua basalis มีการเจริญเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่่งเป็นจุดเริ่มต้นของรก (Chorion frondosum)
สัปดาห์ที่ 8-10 chorion leave เชื่อมติดกับ decidua vera กลายเป็นเยื่อหุ้มรกชั้นใน chorion ซึ่งจะเป็นเยื่อหุ้มรกฝั่งมารดา จะมีเส้นเลือดทอดผ่าน มีลักษณะไม่เรียบ ขุ่น ฉีกขาดง่าย
สัปดาห์ที่11-12 anchoring villi เจริญช้ากว่าส่นอื่นของรก ทำให้มีการม้วนตัวของ basal plate และถูกดึงเข้า intervillus space ทำให้เกิด placental septum โดยแบ่งรกเป็นส่วนๆ ประมาณ15-20 lobe ขนาดไม่เท่ากัน เรียกว่า cotyledon
การพัฒนาของรกชั้นใน (Amnion)และสายสะดือ (Umbilical cord)
ประมาณสัปดาห์ที่3 จะมีการเจริญของตัวอ่อนและส่วนของ ectoderm ส่วนที่เจริญขึ้นจะแยกออกจาก embryonic plate แล้วเปลี่ยนไปเป็นผนังด้านในของโพรงน้ำคร่ำ (amniotic cavity) ซึ่งเรียกว่าเยื่อหุ้รกชั้นใน (amnion) เมื่อamnion เจริญขึ้นจะขายาตัวล้อมรอบ embryo ทำให้ embryo งอตัว
หน้าที่ของรก ;ทำหน้าที่แทนปอดแลกเปลี่ยนออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ , ทำหน้าที่แทนไต ขับถ่ายของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญ , ให้อาหารทารก , ให้ภุฒิต้านทานแก่ทารก , สร้างฮอร์โมน HCG , HLP , Estrogen , Progesterone
สายสะดือ
เป็นทางเดินเลือด มีความยาวประมาณ 50 cm (30-100cm ) มี wharton's jelly ช่วยป้องกันสายสะดือ ไม่หัก พับ งอ หรือผูกแน่นได้ง่าย
ภายในสะดือมีเส้นเลือด 3 เส้น Umbilical artery 2 เส้น จะนำเลือดที่ใช้แล้วจากทารกไปสู่รก , Umbilical vein 1 เส้น จะนำเลือดแดงจากรกไปสู่ทารกในครรภ์
น้ำคร่ำ Amniotic fluid
-ช่วยให้ทารกเคลื่อนไหวได้สะดวก - ควบคุมอุณหภูมิ -ป้องกันอันตรายจากแรงกระทบกระแทก -เป็นแหล่งให้อาหาร -ช่วยให้มียการเปิดขยายของปากมดลูกเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
ประมาณสัปดาห์ที่2 จะถูกสร้างขึ้นพร้อมวกับการพัฒนาของ amniotic cavity โดยเกิดขึ้นจากการ transudrate ของ plasma ในเลือดของมารดา
ส่วนประกอบของน้ำคร่ำ มีน้ำ98%อีก 2%เป็นepidermal cell สีใส PH7.2 ปริมาณ 500-1500 cc