Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nephrotic synderome - Coggle Diagram
Nephrotic synderome
การพยาบาล
-
-
-
-
- ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำงานของหัวใจและลดอาการ Dyspnea
-
-
-
-
อาการและอาการแสดง
- อาการของระบบทางเดินหายใจ หายใจลำบากเนื่องจากมีน้ำในช่องท้อง (Ascitis)
- ปัสสาวะผิดปกติ คือ มีโปรตีนในปัสสาวะ
- มีไขมันในเลือดสูง โปรตีนในเลือดต่ำ
1.อาการบวม บวมแบบกดบุ๋มโดยระยะแรกบวมที่หนังตาและใบหน้าในตอนเช้าหายไปตอนบ่าย ถ้าเป็นมากจะบวมทั้งตัว (Anasarca)
- อาการของระบบทางเดินอาหาร คือ เบื่ออาหารท้องเสียซึ่งเกิดจากมีอาการบวมของมิวโคซ่า
ข้อมูลทั่วไป
-
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
1สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการหน้าบวม
1วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการแขนขาบวม ตาบวม หน้าบวม
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : ปฎิเสธการเจ็บป่วยในอดีต
วินิจฉัยโรคแรกรับ : Nephrotic synderome
วินิจฉัยโรคปัจจุบัน : Nephrotic synderome
อาการปัจจุบัน
มีอาการบวมตั้งแต่หัวเข่าไปจนถึงปลายเท้าและบริเวณตา ปัสสาวะน้อยรู้สึกตัวดี สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีอาการซึม ถามคำตอบคำ ซักถามประวัติต้องถามข้อมูลจากมารดา
-
สาเหตุ
-
- เกิดร่วมกับโรคอื่นๆ ได้แก่
2.1 โรคของเนื้อเยื่อคอนเนคตีฟ เช่น เอสเอลอี (SLE) รูมาติคอาร์ไธรตีส (Rheumatic arthritis)
2.2 โรคที่เกิดกับหลายระบบของร่างกาย เช่นหลอดเลือดแดงหลายหลอดอักเสบ (Polyarteritis)
2.3 โรคติดเชื้อมักเกิดตามหลังต่อมทอนชิลอักเสบ 1-4 สัปดาห์ (โดยเฉลี่ย 10-14วัน) หรือพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ที่เป็นแผลพุพอง หรือฝืตามตัว
2.4 จากแบคทีเรีย เช่น โรคเรื้อน
2.5 จากปาราสิต เช่น มาลาเรีย
2.6 จากไวรัส เช่น ตับอักเสบจากไวรัส มี
2.7 โรคทางเมตาบอลิซึม เช่น เบาหวาน
2.8 เนื้องอก เช่น เนื้องอกของต่อมน้ำเหลือง หรืออาจพูดได้ว่า สาเหตุของโรคไตชนิดใดก็ตามที่ทำให้เกิดการรั่วของโปรตีนออกมาทางปัสสาวะเป็นจำนวนมากก็สามารถทำให้เกิดกลุ่มโรคเนฟ โฟรติคได้
-
พยาธิสภาพ
เมื่อมีโปรตีนรั่วออกไปในปัสสาวะจำนวนมาก ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์อัลบูมินได้เร็วพอ จึงเกิดภาวะอัลบูมินในเลือดต่ำลง เป็นผลให้แรงดึงดูดน้ำในพลาสมาต่ำลง จึงทำให้น้ำในหลอดเลือดออกไปอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ในเนื้อเยื่อ เกิดอาการบวมการที่มีน้ำออกจากหลอดเลือดมีผลทำให้จำนวนพลาสมาลดลง ร่างกายจะต้องปรับตัวให้อยู่ในภาวะปกติ โดยการกระตุ้นระบบเรนิน-แอนจิโอแทนซิน-อัล โดสเตอ โรน-แอนติไดยูเรติคฮอร์โมนผลก็คือมีการดูดซึมโซเดียมกลับมาที่หลอดเลือดฝอยของไตส่วนปลายมากขึ้น