Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ และสาธารณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ และสาธารณภัย
การพยาบาลสาธารณะภัย
เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายประชาชน
เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ
อาจเกดิขึ้นได้ทุกเวลาหรือทุกสถานที่อย่างกะทันหันหรือค่อยๆเกิดขึ้นจากธรรมชาติเอง หรือจากมนุษย์
เกิดความต้องการในสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วนสำหรับผู้ประสบภัย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, ม.ป.ป.)
ภัยที่เกิดขึ้นกับคนหมู่มาก
ประเภทของสาธารณภัย
เกิดจากธรรมชาติ(Natural disaster)
เช่น น้ำท่วม พายุ แผ่นดินถล่ม
เกิดจากการกระทำของมนุษย์(Man-made disaster)
เช่น สงคราม อัคคีภัย อุบัติเหตุจากการจราจร
การจัดการสาธารณภัยระยะก่อนเกิดเหตุ (PRE-IMPACT)
การบริหารจัดการก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ขึ้น เพื่อป้องกันและบรรเทา
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยการมีส่วนร่วมในการ
สำรวจหน่วยบริการที่มีความเสี่ยงสูง
มีส่วนร่วมในการกำหนดแผนงานสาธารณภัยของชุมชนและนโยบาย
สาธารณะ
ให้คำชี้แนะเกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัยด้านสิ่งแวดล้อม
ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ชุมชน
การเตรียมพร้อมการรับสาธารณภัย เป็นการวางแผนเตรียมความพร้อมรับ
สาธารณภัย รวมไปถึงเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย
จัดทำแผนการจัดการสาธารณภัย โดยคำนึงถึงประเภท/ชนิดของสาธารณภัยที่จะ
เกิดขึ้นและแนวทางการจัดการสาธารณภัย
จัดทำ/เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินสาธารณภัยที่อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ประเภท/ชนิดของสาธารณภัย ศึกษาสัญญาณเตือนการเกิดสาธารณภัยในชุมชนรวมถึงการทบทวนแผนการจัดการสาธารณภัย
การฝึกซ้อมแผนการจัดการสาธารณภัย
การจัดการสาธารณภัยระยะเกิดเหตุ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
การจัดการสาธารณภัยระยะหลังเกิดเหตุ
ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ประสบภัยและญาติ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ฟื้นฟูบูรณะสิ่งก่อสร้างต่างๆ สาธาณณูปโรค และการประกอบอาชีพ
การก่อสร้างสิ่งต่างๆขึ้นใหม่ เพื่อทดแทนสิ่งที่เสียหายจากสาธารณภัย
การคัดแยกผู้ป่วย
ระดับที่ 3 สีเขียว คือฉุกเฉินไม่เร่งด่วน (Semi urgency)
ระดับที่ 4 สีขาว คือเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน (Non urgency)
ระดับที่ 2สีเหลืองคือฉุกเฉินเร่งด่วน (Urgency)
ระดับที่ 5 สีดำคือไม่มีการตอบสนองหรือเสียชีวิต
ระดับที่ 1 สีแดง คือฉุกเฉินวิกฤติ (Emergency)
กลไกการบาดเจ็บ
ใช้ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
การสลายไฟบรินและโปรตีน
การกำซาบของเลือดลดลง
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ