Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ชนิดและคุณค่าสารอาหาร - Coggle Diagram
บทที่ 2
ชนิดและคุณค่าสารอาหาร
อาหาร
หมายถึง สิ่งที่มนุษย์รับเข้าสู่ร่างกาย แล้วเกิดประโยชน์แก่ร่างกาย
โภชนาการ
หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของอาหารที่เข้าไปในร่างกาย
อันเกิดจากกระบวนการที่สารอาหารไปหล่อเลี้ยงเซลล์ เนื้อเยื่อ
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลักหมู่ที่ 1 โปรตีน
( เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว )
โดยแหล่งอาหารที่ให้โปรตีน เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง ถั่วเหลือง ซึ่งโปรตีนมีความจำเป็นต่อการทำงานของร่างกาย
เพื่อให้ร่างกายมีความเจริญเติบโต รวมไปถึงช่วยสร้างกล้ามเนื้อ
สำหรับคนทั่วไปควรได้รับโปรตีน 1 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
และคนออกกำลังกาย ควรได้รับโปรตีน 2-3 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
อาหารหลักหมู่ที่ 2 คาร์โบไฮเดรต
( ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน )
โดยแหล่งอาหารที่ให้คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ อาหารประเภทแป้ง
และธัญพืชทั้งหลาย เช่น ข้าว ขนมปัง เป็นกลุ่มอาหารหลักที่ให้พลังงาน รวมทั้งอาจมีแคลเซียม และวิตามินบี
สำหรับคนทั่วไป ควรได้รับคาร์โบไฮเดรต 3 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม และคนออกกำลังกาย ควรได้รับโปรตีน 2-3 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
อาหารหลักหมู่ที่ 3 เกลือแร่
และแร่ธาตุต่าง ๆ
( พืชผัก )
เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ มากจาก ฟักทอง มันเทศสีเหลือง ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง ตำลึง เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ จากพืชผักเหล่านี้ เป็นสารอาหารที่ร่างกายต้องการ
และขาดไม่ได้ เพราะเป็นส่วนประกอบของอวัยวะ และกล้ามเนื้อ เช่น กระดูก ฟัน
เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่เหมาะสมต่อวัน
สำหรับผู้ใหญ่ที่แนะนำต่อวัน คือ ระหว่าง 920–2,300 มิลลิกรัม
อาหารหลักหมู่ที่ 4 วิตามิน
( ผลไม้ )
วิตามินมาจากผลไม้ชนิดต่าง ๆ เช่น กล้วย ส้ม มะละกอ แอปเปิล ลำไย มังคุด ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ และอื่น ๆ ทั้งนี้วิตามินสามารถแบ่งเป็น 2 จำพวก ได้แก่ วิตามินที่ละลายในน้ำ และวิตามินที่ละลายในไขมัน
สำหรับผู้ใหญ่ที่แนะนำต่อวัน คือ ระหว่าง 60 มิลลิกรัม
และสำหรับหญิงตั้งครรภ์ให้นมบุตรต้องการวิตามินประมาณ 70–96 มิลลิกรัม
อาหารหลักหมู่ที่ 5 ไขมัน
( ไขมันจากพืชและสัตว์ )
ไขมันอิ่มตัว
ที่ส่วนใหญ่จะได้จากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู น้ำมันไก่
ไ
ขมันไม่อิ่มตัว
จากพืชบางชนิด เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันมะกอก น้ำมันงา
ซึ่งประโยชน์ของไขมันช่วยในการดูดซึมของวิตามินที่ละลายในไขมัน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
สำหรับผู้ใหญ่ที่แนะนำต่อวันประมาณ 70 กรัม ซึ่งการทานไขมัน ไม่ควรรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป เพราะไขมันเป็นสาเหตุสำคัญของโรคอ้วน โรคหัวใจ และหลอดเลือดได้
สารอาหาร
มี 6 ประเภทคือ
โปรตีน
เป็นสารอาหารที่มีอยู่ทั้งในเนื้อสัตว์
และพืชบางชนิด ดังนี้
โปรตีนที่ได้จากสัตว์ เป็นโปรตีนที่มีคุณภาพสูง พบมากในเนื้อสัตว์ทุกชนิด เช่น หมู วัว
โปรตีนที่ได้จากพืช พบมากในถั่วเมล็ดแห้ง เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วแดง
คาร์โบไฮเดรต
เป็นสารอาหารที่พบมากใน ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน และพืชผักผลไม้ที่มีรสหวาน
ประโยชน์ต่อร่างกาย คือ
ให้พลังงานความอบอุ่นแก่ร่างกายคาร์โบไฮเดรต1g จะให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี
ช่วยให้ร่างกายสามารถนำสารอาหารโปรตีนไปใช้ประโยชน์ได้เต็มที่
3 . เป็นพลังงานสำรอง โดยเก็บสะสมไว้ตามเนื้อเยื่อต่างๆ
ไขมัน
เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย
ไขมันมีทั้งประเภทที่ได้มาจากพืช และได้จากสัตว์ ดังนี้
ไขมันจากพืช เหมาะสำหรับการบริโภค
เพราะจะไม่อุดตันในเส้นเลือด เช่น น้ำมันถั่วเหลือง
ไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู น้ำมันวัว น้ำมันปลา เนย นม
เกลือแร่
เป็นสารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีอยู่หลายชนิด
ที่สำคัญต่อร่างกาย ได้แก่ แคลเซียม พบมากในนม
ประโยชน์ต่อร่างกาย คือ
เป็นส่วนประกอบสำคัญของกระดูกและฟัน
ช่วยควบคุมการทำงานของหัวใจ กล้ามเนื้อ และระบบประสาท
ช่วยให้เลือดแข็งตัว และทำให้เลือดหยุดเมื่อร่างกายได้รับบาดแผล
น้ำ
เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแต่ช่วยในการย่อยการดูดซึม
และการไหลเวียนของสารต่างๆในร่างการ เป็นตัวทำงานสำหรับสารละลาย
เคมีต่างๆทั้งที่เป็นอาหาร และสารอื่นๆ
แร่ธาตุ ( mineral )
เกลือแร่ เป็นสารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีอยู่หลายชนิด ที่สำคัญต่อร่างกาย ได้แก่
ฟอสฟอรัส พบมากในแหล่งอาหารเช่นเดียวกับแคลเซียม
เหล็ก พบมากใน ตับ หัวใจ เลือด เนื้อวัว ไข่แดง ถั่วเมล็ดแห้ง และผักใบเขียว
ไอโอดีน พบมากในอาหารทะเลทุกชนิด
โซเดียม มีมากในเกลือและอาหารต่างๆที่มีส่วนผสมของเกลือ เช่น น้ำปลา กะปิ ไข่เค็ม
นางสาวเมธาพร บุพศิริ
รหัสนักศึกษา 641201202