Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ เเละสาธารณภัย, นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง…
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ เเละสาธารณภัย
กลไกการบาดเจ็บ
เนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ
การกำซาบของเลือดลดลง
ใช้ปัจจัยในการเเข็งตัวของเลือด
การสลายไปบรินเเละโปรตีน
การเเข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การจัดการสาธารณภัยระยะก่อนเกิดเหตุ (PREIMPACT)
การป้องกันเเละบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
การเตรียมพร้อมการรับสาธารณภัย
การวางเเผนเตรียมความพร้อมรับสาธารณภัย รวมถึงเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การจัดการสาธารณภัยระยะเกิดเหตุ (Impact)
การป้องกันเเละควบคุมโรคติดต่อโดยการจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งเเวดล้อม
การให้การพยาบาลด้านสุขภาพแก่ผู้ประสบภัยในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การจัดการสาธารณภัยระยะหลังเกิดเหตุ (Post-impact)
การก่อสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นใหม่เพื่อการทดแทนสิ่งที่เสียหายจากสาธารณภัย
ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ประสบภัยเเละญาติ ทั้งทางด้านร่างกายเเละจิตใจ
ฟื้นฟู/บูรณะสิ่งก่อสร้างต่างๆ การสาธารณูปโภค เเละประกอบอาชีพ
การประเมิน
ด้านร่างกาย
บาดแผล
สาเหตุ
ตำเเหน่ง
ชนิด
ความกว้าง
ความยาว
ความลึก
สัญญาณชีพ
ด้านจิตสังคม
แผลที่มีอวัยวะโผล่
ช่วยดูเเลภาวะเร่งด่วนตามอาการ
ห้ามกดหรือดึงอวัยวะนั้นกลับเข้าไป
ใช้ผ้าชุบ NSSบิดพอหมาดๆคลุมแผล
แผลถูกตัดขาด
การพยาบาลสาธารณภัย
ภัย หรือ อันตรายที่ทำให้เกิดการสูญเสีย ทั้งชีวีตทรัพยสินและอื่น ๆ อย่างรุนแรง
เกิดกับคนหมู่มาก
เกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์
เป็นอันตรายต่อชีวิต
เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน
การจำแนกประเภทผู้ป่วย
ระดับที่ 1 สีแดง คือฉุกเฉินวิกฤติ
ระดับที่ 2สีเหลืองคือฉุกเฉินเร่งด่วน
ระดับที่ 3 สีเขียว คือฉุกเฉินไม่เร่งด่วน
ระดับที่ 4 สีขาว คือเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน
ระดับที่ 5 สีดำ คือไม่มีการตอบสนอง
นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง 6301110801058