Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยวัย 60 ปี เตียง 20
R/O CA Descending Colon,…
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- ผู้ป่วยอาจมีภาวะแทรกซ้อนในระบบทางเดินหายใจเนื่องจากได้รับยาสลบขณะผ่าตัด
-
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนในระบบทางเดินหายใจ ไม่ว่าจะเป็นมีอาการกระสับกระส่าย Oxygen Saturation มากกว่า 97 %
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงศีรษะเล็กน้อยและยกคางขึ้นเพื่อป้องกันการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
- กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนมากขึ้น
- สังเกตสีเล็บมือและเล็บเท้าผู้ป่วยว่าคล้ำขึ้นหรือไม่ เพื่อสังเกตอาการพร่องออกซิเจนที่อาจเกิดขึ้นได้
- วัด Oxygen Saturation และความดันโลหิตผู้ป่วยทุก 15 นาที 4ครั้ง 30 นาที 2 ครั้ง และทุกชั่วโมงติดต่อกันจนกว่าระดับสัญญานชีพจะคงที่เพื่อสังเกตระดับออกซิเจนในผู้ป่วยและผู้ป่วยความดันโลหิตตกหรือไม่
- ผู้ป่วยมีอาการปวดแผลเนื่องจากเพิ่งได้รับการผ่าตัดมา
ข้อมูลสนับสนุน
- ผู้ป่วยมีแผลผ่าตัดยาวประมาณ 20 เซนติเมตรที่กลางหน้าท้องในแนวตั้ง
- ผู้ป่วยบอกว่าเจ็บระดับ Pain Score 10 คะแนน ตอนที่กลับจากห้องผ่าตัดและเช้าวันที่ 26 พฤษภาคม 2565
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความเจ็บปวดและลักษณะการปวดของผู้ป่วยเพื่อประเมินว่าผู้ป่วยปวดแบบใด ปวดแผลหรือว่าปวดท้อง
- ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับยา Morphine 3mg ทางหลอดเลือดดำ ทุก 4 ชั่วโมงเพื่อบรรเทาอาการปวดแผลของผู้ป่วย
- จัดท่านอนราบให้ผู้ป่วยในช่วง 8 ชั่วโมงแรกเมื่อผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัดเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
- หลัง 8 ชั่วโมงหรือผู้ป่วยหายอ่อนเพลียจากยาสลบ กระตุ้นผู้ป่วยให้พยายามลุกนั่งบนเตียงด้วยตนเองให้มากที่สุดเพื่อให้ลำไส้ค่อยๆเริ่มทำงานได้ดีขึ้นแล้วร่างกายฟื้นฟูจากความเจ็บป่วยได้เร็วขึ้น รวมถึงจัดท่า Fowler’ s position
-
- ผู้ป่วยพร่องความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อต้องกลับไปพักรักษาตัวที่บ้าน
-
-
-
-
-
-