Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ต้อกระจก (Cataract) - Coggle Diagram
ต้อกระจก (Cataract)
สาเหตุ
จ้องแสงอัลตราไวโอเลต (UV) หรือแสงที่สว่างมากเกินไปเป็นเวลานาน เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ แสงจากโทรศัพท์มือถือตอนกลางคืน แสงจากการเชื่อมเหล็ก
กรณีศึกษา อดีตมีอาชีพรัลจ้างทำไรทำนา ก่อสร้าง ต้องทำงานกลางแจ้งเป็นเวลานานๆ และเป็นผู้สูงอายุ อายุ 75 ปี
เคยเกิดอุบัติเหตุเกี่ยวกับดวงตาจนกระทบกระเทือนดวงตามากๆ หรือมีสิ่งแปลกปลอมกระเด็นเข้าตา เช่น เศษเหล็ก เศษหิน หรือสารเคมีอันตราย
-
-
ใช้ยาชนิดต่างๆเป็นเวลานาน เช่น ยาหดม่านตา ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ ส่วนยาที่มีผลทำให้เกิดต้อกระจกได้มากคือยากลุ่มสเตียรอยด์
-
โรคต้อกระจกเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับทุกเพศ ทุกวัย แต่พบมากในวัยสูงอายุที่เกิดจากการเสื่อมของเนื้อเยื่อแก้วตา
-
-
อาการเเสดง
มองไม่ชัดอย่างช้า ๆ ไม่มีการอักเสบหรือปวด มองเห็นมัวเหมือนมีฝ้าหรือหมอกบัง มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับและตำแหน่งของความขุ่นในเนื้อเลนส์
-
ภาพซ้อน สายตาพร่า เกิดจากความขุ่นของเลนส์แก้วตาไม่เท่ากัน การหักเหของแสงไปที่จอประสาทตาจึงไม่รวมเป็นจุดเดียว ในผู้ป่วยบางรายจะมีสายตาสั้นมากขึ้นเรื่อย ๆ จนทำให้ต้องเปลี่ยนแว่นตาบ่อย ๆ บางรายสายตาสั้นขึ้นจนกลับมาอ่านหนังสือได้โดยไม่ต้องใส่แว่น
-
-
-
ข้อวินิจฉัย
-
-
-
- มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มเนื่องจากตามัว มองเห็นไม่ชัดเจนช่วงแรกหลังการผ่าตัด
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
2.ดูแลจัดสิ่งแวตล้อมโดยจัดอุปกรณ์และสิ่งของที่จำเป็นวางไว้ให้สะดวก ต่อการหยิบและจัดไม่ให้มีสิ่งของกีดขวางทางเดิน เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
-
-
-
-
-
พยาธิ
ต้อกระจกคือโรคตาที่เกิดจากการขุ่นมัวของแก้วตา (lens) อาจมีสีขาวขุ่นสีเหลือง หรือสีน้ำตาลล ทำให้แสงผ่านเข้าไปยังจอประสาทตาได้น้อยลงและภาพที่มองเห็นจึงไม่ชัดเจน เกิดอาการที่เรียกว่า "ตามัว"การขุ่นของชั้นต่าง ๆ ในแก้วตาทำให้ดัชนีหักเหของแก้วตาและการหักเหของแสงในแต่ละส่วนของแก้วตา เปลี่ยนไป อาจทำให้มองเห็นภาพซ้อนหรืออาจทำให้สายตาสั้นลง แบ่งออกได้4ระยะดังนี้
ต้อกระจกเริ่มเป็น(Incipient Stage) เป็น ระยะแรกของต้อกระจกในผู้สูงอายุ อาจเกิด
การขุ่นขาวบริเวณรอบนอกของเลนส์แก้วตา แต่เนื้อตรงกลางหรือนิวเคลียสยังใสอยู่หรือ
เนื้อตรงกลางขาวขุ่นแต่รอบนอกใส
ต้อกระจกที่มีการบวมน้ำ (Intumescent stage) ในระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงของแรง
ต้นออสโมติกและส่วนประกอบของสารเคมี ของเลนส์แก้วตา ทำให้น้ำซึมผ่านเลนส์แก้วตา
มากขึ้น ทำให้เลนส์แก้วตาสูญเสียความใส และเกิดความขุ่นขาวมากขึ้น
ต้อกระจกสุก(Mature stage) ระยะนี้น้ำถูก
ขับออกจากเลนส์แก้วตา ทำให้เลนส์แก้วตา แข็งกว่าเดิมและมีสภาพขุ่นขาวทั่ว ระยะนี้
เป็นระยะที่เหมาะสมต่อการผ่าตัดเอาเลนส์ แก้วตาขุ่นขาวออก
-
ต้อกระสุกเกินไป(Hypermature stage) เลนส์
แก้วตาขุ่นมากขึ้น จะเห็นเป็นสีขาวนวลเหมือนสี น้ำนมเพราะเนื้อส่วนรอบนอกของเลนส์แก้วตาเกิด
เสื่อมและกลายเป็นของเหลว สายตามั่วลงอย่าง มาก หากไม่ได้รับการรักษาจะผ่าตัดได้ยากขึ้น อีก
ทั้งบางรายก่อให้เกิดการอักเสบภายในตวงตาจาก การมี protein รั่วออกจากแก้วตาตลอดจนอาจก่อ
ให้เกิดต้อหินตามมา
การรักษา
ช่วงแรกของการเป็นต้อกระจก การเปลี่ยนแว่นตาแก้ไขอาจทำให้มองเห็นชัดขึ้นได้บ้าง ยังไม่มียาหยอดตาหรือยารับประทานใด ๆ ที่รักษาต้อกระจกได้ เมื่อเป็นมากขึ้นมองไม่ชัด วิธีการรักษาคือการผ่าตัดเท่านั้น
1) วิธีสลายต้อกระจกด้วยเครื่องสลายต้อ (Phacoemulsification With Intraocular Lens)วิธีที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน แผลที่กระจกตาเล็กเพียง 3 มม. แพทย์จะสอดเครื่องมือสลายต้อเข้าไปที่ตัวต้อกระจก ใช้พลังงานความถี่สูงเท่าระดับอัลตราซาวนด์เข้าสลายต้อกระจกจนหมดจึงใส่เลนส์แก้วตาเทียมเข้าไปแทนที่ แผลมีขนาดเล็กมาก ไม่ต้องเย็บแผลในคนไข้ส่วนใหญ่
-
2) วิธีผ่าตัดต้อกระจกแบบเปิดแผลกว้าง (Extracapsular Cataract Extraction with Intraocular Lens)
วิธีผ่าตัดดั้งเดิมที่ใช้ในกรณีที่ต้อกระจกสุกและแข็งมาก ๆ จนไม่เหมาะกับการสลายด้วยเครื่อง จักษุแพทย์จะเปิดแผลบริเวณครึ่งบนของลูกตายาวประมาณ 10 มม.เพื่อเอาตัวเลนส์แก้วตาที่เป็นต้อกระจกออก แล้วใส่เลนส์แก้วตาเทียมเข้าไปแทนที่แล้วจึงเย็บปิดแผลด้วยไหมเย็บแผล