Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพมารดา-ทารก และการคัดกรอง 👩🍼 - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพมารดา-ทารก
และการคัดกรอง 👩🍼
การซักประวัติ (History taking)
ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล และประวัติทางสังคม
ชื่อ - นามสกุล
เพื่อระบุตัวตน
เพื่อให้ได้รับการรักษา/ดูแลได้ถูกต้อง ถูกคน
อายุ
เป็นสิ่งที่สำคัญมาก ซึ่งเป็นปัจจัยในการคลอดทารก
แม่อายุปกติ
20 - 35 ปี
แม่อายุมาก
มากกว่า 35 ปี
ต้องติดตามมากกว่าแม่ในอายุปกติ เนื่องจากทารกที่เกิดจากแม่ที่มีอายุมาก เสี่ยงต่อการเกิดดาวน์ซินโดรมมากกว่าในแม่ที่มีอายุปกติมาก
ท้องแรก
แม่เสี่ยงต่อการไม่มีแรงเบ่งในการคลอดทารก เนื่องจากไม่เคยผ่านการคลอดทารกมาก่อน
ท้องต่อมา
แม่เสี่ยงต่อการไม่มีแรงในการเบ่งคลอด แต่น้อยกว่าการท้องแรกตอนอายุมาก เนื่องจากเคยผ่านการคลอดทารกมาก่อน
Ex. แม่มาฝากท้องตอนอายุ 34 ปีกว่าๆ ได้ทำการคำนวณวันครบกำหนดคลอดทารก ณ คลอดแม่อายุ 35 ปีนิดๆ จะถือว่าเป็นแม่ที่มีอายุมาก
อาชีพ
มีผลต่อทารกในครรภ์เป็นอย่างมาก
ประเภทของงาน
การได้รับรังสี/สารพิษ
การได้รับอุบัติเหตุ
ลักษณะงานประจำ
การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
สัญชาติ
เชื้อชาติ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคตามภูมิภาคที่อาศัย
เอเชีย
เมดิเตอเรเนียน
วัฒนธรรมและความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
มุสลิม/อิสลาม
ไม่ทำหมัน
ไม่คุมกำเนิด
การศึกษา
สิทธิในการรักษาพยาบาล
ค่าฝากครรภ์
ค่าคัดกรองความพิการของทารก
ค่าคลอด
ที่อยู่ปัจจุบัน
ลักษณะของสิ่งแวดล้อม
มีผลต่อสุขอนามัยของแม่
เจตคติของการตั้งครรภ์
แบบแผนการดำรงชีวิตและพฤติกรรม
มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ข้อมูลส่วนบุคคลของสามี
ชื่อ - นามสกุล
อายุ
เชื้อชาติ
ศาสนา
การศึกษา
อาชีพ
รายได้
การใช้ยาและสารเสพติด
ประวัติทางสูติศาสตร์และนารีเวชวิทยา
ประวัติประจำเดือน
ประวัติการมาของประจำเดือนอย่างน้อย 3 - 6 เดือน
ปริมาณ
จำนวนวัน
อาการ
ประวัติการคุมกำเนิด
การรับประทานยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฝังยาคุมกำเนิด
การใส่ห่วงคุมกำเนิด
ประวัติการมีบุตรยากและการรักษาก่อนการตั้งครรภ์
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
การผ่าตัด
การผ่าคลอด
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
ผลจากคลินิกฝากครรภ์
ไม่ตรวจซ้ำ
ได้ผลมาจากคลินิกที่มีความน่าเชื่อถือ
อาจตรวจซ้ำในบางราย
ได้ผลมาจากคลินิกที่ไม่น่าเชื่อถือ
ไม่แน่ใจในผลตรวจ
ซื้อที่ตรวจครรภ์มาตรวจเองแล้วขึ้น 2 ขีด
ต้องตรวจซ้ำที่โรงพยาบาล
ตั้งครรภ์
เกิดภาวะอื่นๆ ที่ทำให้ขึ้น 2 ขีด
บอกเล่าเกี่ยวกับอาการที่เป็น
ต้องตรวจใหม่ทั้งหมด
การคาดคะเนอายุครรภ์และกำหนดวันคลอด
แอปพิเคชั่น
คำนวณ
1 st of LMP - 3 เดือน + 7 วัน
1 st of LMP + 9 เดือน + 7 วัน
การประเมินภาวะเสี่ยงจากการได้รับ teratogen
ยา
สารเคมี
การสัมผัสกับรังสี X - ray
การใช้สารเสพติด
การสัมผัสโรคหัดเยอรมัน
ความไม่สุขสบายหรืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยของสตรีมีครรภ์ในอดีต
ภาวะเจ็บป่วยในวัยเด็กและโรคติดต่อ
Ex. สายพันธุ์ธาลัสซีเมีย
สามารถตั้งครรภ์ได้
ต้องปรึกษาแพทย์ก่อนตั้งครรภ์
โรคทางอายุรกรรมและศัลยกรรมในอดีต
ติดโรคจากสัตว์เลี้ยง
หมา
แมว
ไทรอยด์
รักษาอย่างไร
รักษาหายเมื่อใด
ฮอร์โมนไทรอยด์เพียงพอต่อการตั้งครรภ์หรือไม่
การได้รับอุบัติเหตุหรือโรคของกระดูกเชิงกรานและหลัง
โปลิโอ
ไม่ใช่โรคทางพันธุกรรม
วัณโรค
รักษาหายเมื่อใด
การผ่าตัด
มดลูก
เชิงกราน
การผ่าตัดไส้ติ่งไม่เกี่ยวกับการผ่าตัดเชิงกราน
การศัลยกรรม
ทำหน้าอก
ควรซักประวัติการศัลยกรรมทุกตำแหน่ง
โรคและการรักษาทางนารีเวช
มดลูก
เชิงกราน
ประวัติความเจ็บป่วยของสตรีมีครรภ์ในปัจจุบัน
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบันรวมทั้งการรักษาที่ได้รับ
ประวัติการแพ้ยา
การใช้สารเสพติด
ปริมาณการดื่มสุรา
การสูบบุหรี่
การดื่มการแฟ
การดื่มน้ำอัดลมที่มีส่วนผสมของโคล่า
การดื่มชา
การรับประทานช็อกโกแลต
ประวัติความเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
โรคทางพันธุกรรมของบุคคลในครอบครัว
คำนวณความเสี่ยงต่อการเป็นโรคทางพันธุกรรมของทารกในครรภ์
โรคอายุรกรรมและโรคติดต่อของสมาชิกในครอบครัว
เพื่อป้องกันทารกในครรภ์ติดโรคติดต่อ
การตรวจร่างกาย (Physical examination)
การตรวจร่างกายทั่วไป
ชั่งน้ำหนัก
อาจจะไม่ชั่งทุกครั้งที่มา แต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ควรชั่ง
เพื่อใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการของแม่
WHO กำหนดเกณฑ์ในการประเมินภาวะโภชนาการ
โดยใช้ค่าดัชนีมวลกายของสตรีมีครรภ์
แม่มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นน้อยกว่าเกณฑ์
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกน้ำหนักแรกคลอดน้อย
แม่มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมากกว่าเกณฑ์/มีภาวะอ้วน
เกิดภาวแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้น 2 เท่า ขณะตั้งครรภ์
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ทารกมีภาวะตัวโต คลอดยาก
การแบ่งกลุ่มค่าดัชนีมวลกาย (WHO ค.ศ. 1998)
น้ำหนักปกติ
ดัชนีมวลกาย 18.5 - 24.9
น้ำหนักมากกว่าปกติ
ดัชนีมวลกาย 25 - 29.9
อ้วนระยะที่ 2
ดัชนีมวลกาย 35 - 39.9
อ้วนระยะที่ 1
ดัชนีมวลกาย 30 - 34.9
อ้วนระยะที่ 3
ดัชนีมวลกาย > 40
น้ำหนักน้อยกว่าปกติ
ดัชนีมวลกาย < 18.5
แสดงค่าน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นของสตรีตั้งครรภ์เดี่ยว
ตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ก่อนตั้งครรภ์
น้ำหนักน้อยกว่าปกติ (<18.5 kg/m2)
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นทั้งหมด (total weight gain)
1 more item...
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นต่อสัปดาห์ในไตรมาสที่ 2 และ 3
1 more item...
น้ำหนักปกติ (18.5 - 24.9 kg/m2)
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นทั้งหมด (total weight gain)
1 more item...
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นต่อสัปดาห์ในไตรมาสที่ 2 และ 3
1 more item...
น้ำหนักมากกว่าปกติ (25.0 - 29.9 kg/m2)
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นทั้งหมด (total weight gain)
1 more item...
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นต่อสัปดาห์ในไตรมาสที่ 2 และ 3
1 more item...
อ้วน (> 30 kg/m2)
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นทั้งหมด (total weight gain)
1 more item...
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นต่อสัปดาห์ในไตรมาสที่ 2 และ 3
1 more item...
ในไตรมาสที่ 2 และ 3
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ / น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ปกติ
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.5 kg/wk
ผิดปกติ
น้ำหนักตัวเพิ่มน้อยกว่าปกติ
2 more items...
น้ำหนักตัวเพิ่มมากกว่าปกติ
2 more items...
น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ / อ้วน
ปกติ
น้ำหนักควรเพิ่มเฉลี่ย 0.25 kg/wk
ควรแนะนำให้แม่ชั่งน้ำหนักเองที่บ้านทุกวัน
ไม่ควรเครียดกับน้ำหนักที่ขึ้นลง
ส่งเสริมให้ชั่งเพื่อดูการเจริญเติบโตของทารกตามเกณฑ์
วัดส่วนสูง
การตรวจร่างกาย (Physical examination)
สัญญาณชีพ (ควรวัดชีพจรและความดันทุกครั้งที่มาฝากครรภ์)
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
พบได้บ่อย ประมาณร้อยละ 5 - 8 ของการตั้งครรภ์
พบว่ามีความรุนแรงถึงขั้นชัก (eclampsia)
ประมาณร้อยละ 1 : 1,000 - 1 : 1,500 ของการคลอด
เป็นประการหนึ่งของการเสียชีวิตของแม่และทารก
สภาพทั่วไป
ลักษณะปกติ
การแต่งกาย
ความสะอาด
ระดับความรู้สึกตัว
สีหน้าท่าทาง
อารมณ์
ความสามารถในการตอบคำถาม
การตักสินใจ
การใช้เหตุผล
ลักษณะผิดปกติ
เดินกระเผลก
การรับรู้ช้า
มีสีหน้าไม่สดชื่น
ผิวหนัง
ลักษณะปกติ
อาการบวมไม่เกิน +1 หรือมีอาการบวมเล็กน้อยบริเวณเท้าและหน้าแข้ง
ไฝไม่เปลี่ยนสีหรือเปลี่ยนขนาด
อาจจะพบการเปลี่ยนแปลงของสีผิว
Linda nigra
Striae gravidarum
Chloasma
ลักษณะผิดปกติ
บวมมมากกว้า + 1
หากบวมเกิน + 1 น่าจะมีความสัมพันธ์
ร่วมกับความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครร
มีรอยผื่นคันมีแผลติดเชื้อ
มีรอยจ้ำเลือด
ซีด เหลือง
ไฝมีสีเข็มขึ้นหรือขนาดโตขึ้น
จมูก
ลักษณะปกติ
อาจมีการบวมของเยื่อบุภายในจมูก
รู้สึกคัดจมูก (rhinitis of pregnancy)
มีเลือดออก เมื่อสั่งน้ำมูกแรง
ลักษณะผิดปกติ
ไม่ได้กลิ่นน้ำมูก
น้ำมูกสีเหลือง
ไอ จาม
ปาก
ลักษณะปกติ
เหงือกบวมเล็กน้อย (hypertrophy of gingival
จาก tissue จาก estrogen)
ลักษณะผิดปกติ
เหงือกบวม มีอาการอักเสบ
ริมฝีปากซีด
คอ
ลักษณะปกติ
ต่อมน้ำเหลืองไม่โต ไม่เจ็บ
ต่อมไทรอยด์ไม่โต กดไม่เจ็บ
ลักษณะผิดปกติ
ต่อมน้ำเหลืองโต กดเจ็บ แข็ง
ต่อมไทรอยด์โต (thyroid enlargement)
ทรวงอกและปอด
ลักษณะปกติ
ทรวงอกสมมาตร
ขณะหายใจไม่หอบเหนื่อย
อกไม่บุ๋ม
เสียงหายใจปกติ
ลักษณะผิดปกติ
อกบุ๋มขณะหายใจ
หายใจเร็ว
หอบ หรือหยุดหายใจเป็นช่วง
ไอถี่
มีเสียงผิดปกติขณะหายใจ
เต้านม และหัวนม
ลักษณะปกติ
เต้านมปกติ
ขยายขนาด
มือคลำจะพบลักษณะขรุขระของต่อมและท่อน้ำนม
ผิวหนังมี striae
เส้นเลือด superficial vein ขยาย
หัวนมมีสีคล้ำ
tubercles of montgomery ขยายขนาด
รู้สึกเสียวแปล๊บและไวต่อการกระตุ้น
มีน้ำนมเหลือง (colostrums)
ภายหลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตรวจโดย Waller’s test อาจพบลักษณะหัวนมปกติ สั้น แบน หรือบุ๋ม
แก้ไขโดย Hoffman’s maneuver
ลักษณะผิดปกติ
ขรุขระไม่เรียบ
ลักษเณะเหมือนผลส้ม กดเจ็บ
คลำพบก้อนในเต้านมข้างใดข้างหนึ่ง
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้โต
หัวนมบุ๋ม มีเลือดออก มีรอยแตก
แขน ขา
ลักษณะปกติ
ขยับ เคลื่นไหวปกติ
ผิวหนังอุ่น อาจมีเล้นเลือดขยาย
พบ varicose vein เล็กน้อยที่ขา
ลักษณะผิกปกติ
มือและเท้าเย็นชื้น
บวมกดบุ๋ม
มี varicose vein มาก
ปลายมือปลายเท้าซีด
เล็บแอ่นเป็นรูปช้อน ตามลักษณะของภาวะซีกจากการขาดธาตุเหล็ก
Reflexes
ลักษณะปกติ
ปกติ
ลักษณะผิดปกติ
Reflex เร็ว (hyperactivity)
ท้อง
ลักษณะปกติ
อาจพบ striae gravidarum, linea nigra และ diastasis recti ที่ผิวหนังหน้าท้องความสุงของยอดมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์
อาจะเห็นการดิ้นของทารกในครรภ์
คลำได้ ballottemant เมื่ออายุครรภ์ประมาณ 4 - 5 เดือน
คลำส่วนของทารกได้จากการตรวจครรภ์
เมื่ออายุครรภ์ 26 - 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ลักษณะผิกปกติ
หน้าท้องตึงแข็ง กดเจ็บ
คลำพบก้อน
คลำตับโต
ความสูงของมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
ไม่ได้ยินเสียงหัวใจทารกในครรภ์
ไม่รู้สึกถึงเด็กดิ้นเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์
กล้ามเนื้อ
ลักษณะปกติ
กระดูกมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อปกติ
ความตึงตัวปกติ
การทรงตัวปกติ
การเคลื่อนไหวของข้อต่างๆปกติ
กระดูกสันหลังโค้งปกติ
ไหล่ไม่คุ้มงอ
ลักษณะผิดปกติ
หลังแอ่น นอนหงายแล้วปวดหลังมาก
ไหล่คุ้มงอ
มีอาการชาบริเวณปลายแขนและปลายมือ
ปวดหลังและปวดชาบริเวณขามาก
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ลักษณะปกติ
การกระจายตัวของ pubic hair ปกติ
สิ่งคัดหลั่งจากช่องคลอด
ไม่มีกลิ่น
สีใสคล้ายแป้งเปียก
มีในปริมาณน้อย
ไม่มีอาการคัน
อาจมีน้ำลักษณะคล้ายเหงื่อ (transudation) ปนออกมาจากสารคัดหลั่ง
ลักษณะผิดปกติ
มีแผล บวมแดง
มี varicosities
ต่อม bartholins โต กดเจ็บ
มีสิ่งคัดหลั่งจากช่องคลอดลักษณะผิดปกติ
สีขาวขุ่น
เหนียว
คล้ายหลิ่นน้ำกรด
มีการอักเสบของปากมดลูก
มีการติดเชื้อสีชมพูจาง
ลักษณะเป็นน้ำ
Nonspecific infection สีเขียวแกมเหลือง
มีฟอง
กลิ่นเหม็น
มีการติดเชื้อ Trichomonas vaginalis
มีสีน้ำตาล
มีกลิ่นอับ
อักเสบของปากมดลูกและช่องคลอด มีสีเทามีเลือดปน
กลิ่นเหม็นเน่า
มีแผลในช่องคลอด
ช่องคลอดอักเสบ มีสีขาวเกาะเป็นแผ่น
มีเนื้องอก
ช่องคลอด
ปากมดลูก
ติดเชื้อรา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการแปลผล
การตรวจเลือด
ควรตรวจครั้งแรกทันทีหลังฝากครรภ์และตรวจซ้ำช่วง 30 - 32 wks.
CBC (โลหิตจาง)
Hct > 33 %
Hb > 11 mg/dL
ในหญิงตั้งครรภ์จะมีการผลิตพลาสมามากว่าเม็ดเลือดแดง เนื่องจากเส้นเลือดใหญ่กลางร่างกาย (inferior vena cava : IVC) โดนมดลูกทับทำให้เลือดอไปเลี้ยงอวัยวะส่วนอื่นได้ไม่ดี ร่างกายเลยผลิตพลาสมาเพิ่มมากขึ้นเพื่อจะได้เดินทางไปเลี้ยงอวัยวะอื่นได้มากขึ้น
ขาดสารช่วยสร้างเม็ดเลือด
Vit B 12
Folic acid
ธาตุเหล็ก
หมู่เลือด ABC group
ชาวต่างชาติ
Rh factor
การเคยได้รับเลือด
Antibody
HIV
ตรวจโดยวิธี FDA - licensed Elisa
หากขึ้น Positive จะส่งไปตรวจอีกขั้นตอนเพื่อดูปริมาณเชื้อ
ปริมาณเชื้อจะสามารถส่งถึงทารกในครรภ์ได้หรือไม่
ให้วัคซีนทารกหลังคลอดทันที เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่ขณะคลอด
ไวรัสตับอักเสบ
HBaAg
HBeAg
ซิฟิลิส
ตรวจด้วย VDRL
ผลตรวจขึ้น Positive
ส่งตรวจยืนยันด้วยวิธี FTA - ABS
ทารกในครรภ์อาจพิการแต่กำเนิด
หัดเยอรมัน
Rubella titer เป็นที่ตรวจภูมิหัดเยอรมัน
Positive
มีภูมิหัดเยอรมันในร่างกาย (ไม่ใช่เป็นหัดเยอรมัน)
Negative
ไม่มีภูมิหัดเยอรมันในร่างกาย
ควรตรวจตั้งแต่อายุครรภ์น้อยๆ
ไม่เคยเป็นหัดเยอรมัน
เคยได้รับวัคซีนหัดเยอรมัน
มีภูมิคุ้มกันหัดเยอรมัน
HAI > 1 : 8 - 1 : 10
EIA > 1,000
มีภูมิหัดเยอรมันน้อย/ไม่มีภูมิหัดเยอรมันเลย(ผลเป็น Negative)
แนะนำหลีกเลี่ยงการติดต่อหัดเยอรมัน
แนะนำรับวัคซีนหลังคลอด
คัดกรองพาหะธาลัสซีเมีย
MCV (Mean corpuscular volume)
ปกติ
ค่าปกติ คือ มากว่าเท่ากับ 80
หรือการตรวจ OFT (One tube osmolality fragility test)
ค่าปกติ คือ Negative
ผิดปกติ
เสี่ยงเป็นพาหะ เอลฟ่า - ธาลัสซีเมีย 1
เสี่ยงเป็นพาหะ เบต้า - ธาลัสซีเมีย
ต้องนำสามีมาตรวจด้วย
ทารกในครรภ์ไม่เสี่ยง
พ่อ Negative
แม่ Negative
ส่งตรวจต่อเพื่อคำนวณเปอร์เซ็นต์ความเสี่ยง
แม่ Negative
พ่อ Positive
HbE screening
ตรวจโดยวิธี DCIP/HbE screening
ปกติ
Negative
ผิดปกติ
เสี่ยงเป็นพาหะ HbE
ถ้าสตรีและสามีเป็นพาหะ
(หากพบ 3 กลุ่มนี้เร็ว จะยุติการตั้งครรภ์)
Alpha - thalassemia 1 trait พบ Alpha - thalassemia 1 trait
โอกาสเสี่ยงทารกในครรภ์ Hb Bart’s hydrop fetalis
(ทารกบวมน้ำในครรภ์)
Beta - thalassemia trait พบ Beta - thalassemia trait
โอกาสเสี่ยงทารกในครรภ์ Homozygous Beta-thalassemia
(อาการซีดรุนแรงต้องให้เลือด มีชีวิตอยู่ได้ไม่นาน)
Beta - thalassemia trait พบ Hb E trait
Beta - thalassemia/Hb E disease
(ต้องให้เลือดตลอด มีชีวตไม่รอดเกินวัยรุ่น[แต่ก็มีคนรอด])
การตรวจปัสสาวะ
หาโปรตีน (albuminuria)
อาจพบ trace ได้
พบ trace ตั้งแต่ 2+ ขึ้นไป
ส่งตรวจต่อไป
น้ำตาล (glycosuria)
อาจพบ trace ได้
พบ trace ตั้งแต่ 1+ ขึ้นไป
ส่งตรวจ GCT
Glucose 50 g
ส่งตรวจ OGTT
Glucose 100 g
ตรวจคัดกรองการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะที่ไม่มีอาการ (asymptomatic bacteriuria)
ตรวจโดยใช้ Test tape
พบเม็ดเลือดขาวตั้งแต่ 5 ตัว : 1 High powered died = อักเสบทางเดินปัสสาวะ
ตรวจพบเจอในไตรมาสแรก
จะให้ยุติการตั้งครรภ์
ตรวจพบเจอในไตรมาสที่ 2 - 3
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
การตรวจหาเซลล์มะเร็งปากมดลูก
ตรวจโดยใช้วิธี Pap smear
ตรวจตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
รายที่ไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกมาก่อน
รายที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกนานกว่า 1 ปี