Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยเชิงคุณภาพ, หน่วยที่ 11 การวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมและพัฒนาการ…
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
การกำหนดปัญหา
สิ่งที่นักวิจัยต้องการรู้ข้อเท็จจริง
นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อหาคำตอบ
ต้องกระทำอย่างมีระบบระเบียบ
เชื่อถือได้
วัตถุประสงค์
ส่วนที่บอกให้ทราบสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษา
เป็นส่วนกำหนดขอบข่ายเนื้อหา ประชากร เครื่องมือวิจัย วิธีรวบรวมข้อมูล
กรอบแนวคิด
ประมวลความคิดรวบยอดของการวิจัย
ตัวแปร
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
สมมติฐาน
เดาคำตอบของปัญหา
อาศัยเหตุผลของทฤษฎี แนวคิด
ช่วยจำกัดขอบเขตการวิจัยและเก็บข้อมูล
การเลือกตัวอย่างการวิจัย
เลือกชุมชน บุคคลและจำนวน
กลุ่มตัวอย่าง
วิธีการเก็บข้อมูล
การจัดสนทนากลุ่ม
การสัมภาษณ์แบบเจาะจง
การสนทนากลุ่มตามธรรมชาติ
การจัดสนทนากลุ่ม
การสังเกตุ
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
การสัมนาหรือจัดเวทีชาวบ้าน
การบันทึกประวัติชีวิตบุคคล
การเก็บข้อมูลแบบผสมผสาน
เครื่อมือและอุปกรณ์
1.แบบสัมภาษณ์
2.แบบบันทึกการสังเกตุ
3.เครื่องมืออื่นๆ
การประยุกต์
องค์ความรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การจัดการทรัพยากร
การจัดระบบการผลิตของเกษตรกร
การจัดกลุ่มองค์กร
ลักษณะและแบบแผนการวิจัยเชิงคุณภาพ
ศึกษาข้อมูลในบริบทจริง
ตั้งคำถามวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล
จัดกลุ่มข้อมูล (categories)จากที่พบจริง
ค้นหาแบบแผนของความสัมพันธ์(pattern)ระหว่างกลุ่มของข้อมูล
สังเคราะห์เป็นข้อสรุป หรือทฤษฎี
ความสำคัญ
ทำให้เข้าใจปรากฎการณ์ของสังคม
เข้าใจการเปลี่ยนแปลง
การมองภาพรวมทั้งหมด
เกิดแนวทางแก้ไขและพัฒนา
ความหมาย
กลุ่มสังคมศาสตร์เชิงปฏิฐานนิยม
ศึกษาปรากฎการณ์ทางสังคม
วิธีการเชิงประจักษ์
สามารถวัดเป็นตัวเลขได้
ปราศจากอคติ
กลุ่มสังคมศาสตร์เชิงตีความ
ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
มิติที่ซับซ้อนเกินกว่าวิทยาศาสตร์
เน้นกระบวนการในการตีความ
กลุ่มสังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์
ค้นคว้าเชิงปฏิรูป
หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
มุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงในสังคม
การวิเคราะห์และนำเสนอ
การวิเคราะห์ข้อมูล
1.ขั้นก่อนเริ่มเก็บข้อมูล
2.การตรวจสอบข้อมูล
3.การจดบันทึกข้อมูล
4.การจัดแฟ้มข้อมูล
5.การทำดัชนีข้อมูล
6.การทำข้อสรุปชั่วคราวและการกำจัดข้อมูล
7.การสร้างบทสรุปและการพิสูจน์บทสรุป
การนำเสนอผลการวิจัย
1.กระบวนการและรูปแบบปฏิบัติ
2.การจัดหมวดหมู่ความสัมพันธ์
3.การจัดกลุ่มหมวดหมู่
4.การเสนอการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงระบบ
5.แผนภาพการพัฒนา
6.การวิเคราะห์ SWOT
7.แผนภาพพฤติกรรมในรอบวัน
8.การเปรียบเทียบข้อมูล
9.การเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา
หน่วยที่ 11 การวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
5