Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Alcohol Withdrawal - Coggle Diagram
Alcohol Withdrawal
อาการและการแสดงของโรค
คลื่นไส้และอาเจียน
เหงื่อออก
ปวดหัวเล็กน้อย
นอนไม่หลับ
กระสับกระส่าย
จิตปั่นป่วน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการพยาบาล
กรณีเกิดอาการขาดสุราขั้นรุนแรง
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองและผู้อื่น เนื่องจากมีภาวะหงุดหงิดก้าวร้าว
การพยาบาล
2.เรียกชื่อผู้ป่วยและกล่าวทุกครั้งก่อนให้การพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด อากาศถ่ายเทสะดวกลดสิ่งกระตุ้น เช่น สี แสง
4.ฝ้าระวังความเสี่ยงต่างๆ เช่น การทำร้ายตนเองและผู้อื่น การทำร้ายตนเองจากภาวะระแวง และประเมินภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล
ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากภาวะงุนง สับสน หรือภาวะเมาสุรา
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วย เกิดความไว้วางใจ และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกคับข้องใจ
กรณีเกิดอาการขาดสุราแล้วแต่ยังไม่รุนแรง
ไม่สุขสบายเนื่องจาก มีอาการขาดสุรา
การพยาบาล
เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากยากดระบบประสาทส่วนกลาง
4.ดูแลความสะอาดความสุขสบายการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
5.การจัดสิ่งแเวดล้อมให้เงียบสงบ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงการดำเนินของอาการขาดสุรา เนื่องจากผู้ป่วยเกิดอาการขาดสุราขั้นรุนแรง
2.ให้ยาตามแผนการรักษาของเพทย์ประเมินอาการก่อนและหลังการให้ยา
1.ประเมินอาการขาดสุราเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของระดับอาการขาดสุรา
กรณีเคยมีประวัติชักหลังหยุดดื่มสุรา
เสี่ยงภาวะตับบกพร่องจากการดื่มสุราเป็นเวลานาน
การพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบ ลดเสียงรบกวน ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพออย่างน้อยวันละ 6 ชั่วโมง
ประสานกับโภชนาการจัดอาหารที่มีพลังงานสูง ไขมันต่ำและดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การทำงานของตับ (SGOT SGPT Alkaline phosphatase) พร้อมรายงานให้แพทย์ทราบ
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงการดำเนินของโรคพร้อมใช้ข้อมูลนี้สะท้อนกลับเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดแรงจูงใจในการหยุดดื่มสุรา
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงหรือตามระดับอาการขาดสุรา
ประเมินอาการคลื่นไส้ เบื่ออาหาร แน่นอึดอัดท้อง หรืออาการคันตามผิวหนัง
ยังไม่มีอาการขาดสุรา
เสี่ยงต่อการเกิดอาการขาดสุรา
การพยาบาล
ซักประวัติแบบแผนการดื่มสุราอย่างละเอียด ครบถ้วน
ประเมินอาการขาดสุราทุก 4 ชั่วโมงจนครบ 3 วันซึ่งเป็นระยะที่พ้นจากการเกิดอาการขาดสุรา
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหาร สารน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลความสะอาดร่างกาย ความสุขสบาย การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย
ความหมายและพยาธิสภาพของโรค
Alcohol Wihdrawal
ภาวะขาดสุรา เป็นสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาหรือสภาวะทาง
จิตใจ จะมีอาการเกิดขึ้นหลังจากหยุดดื่มสุรา หรือลดปริมาณการดื่มลง
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะในสมองจากเดิม
ถูกกดด้วยAlcohol มาเป็นภาวะhyperexcitability
อาการต่างๆเกิดจากการมีsympathetic activity เพิ่มขึ้น
มีการหลั่งnorepinephrine เพิ่มขึ้นในสมอง
มีการเพิ่มของ NoradrenergicActivity
จากการพบว่ามีMHPG (3-mithoxy-4-hydroxy phenylethylglycol)
ซึ่งเป็นMetabolite ของ Norepinephrine เพิ่มขึ้นใน CSF
ระดับความรุนแรงของอาการขาดสุรา
อาการขาดสุราเล็กน้อย
เกิดได้ตั้งแต่ 6 ชั่วโมงจนถึง 36 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย
มือสั่น หงุดหงิด วิตกกังวลเล็กน้อย ปวดมึนศีรษะ เหงื่อออก ใจสั่น เบื่ออาหาร ความดันโลหิตสูง
คลื่นไส้ อาเจียน นอนไม่หลับ
อาการขาดสุราปานกลาง
เกิดในช่วง 24-72 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย กระสับกระส่ายมากขึ้น ผุดลุกผุดนั่ง มือสั่น ตัวสั่น เหงื่อออกมาก เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
อาการขาดสุรารุนแรง
เกิดในช่วง 48-96 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย
ภาวะสับสน วัน เวลาสถานที่ (Delirium Tremens) ร่วมกับมีอาการกระสับกระส่ายอย่างมากอยู่นิ่งไม่ได้ เดินไปมา มือสั่นตัวสั่น สมาธิลดลง ชีพจรเต้นเร็ว มีไข้ อาจเห็นภาพหลอน หูแว่ว หลงผิด หวาดระแวงร่วมด้วย
เกณฑ์DSM-5การวินิจฉัยของโรค
อย่างน้อย2ข้อใน12สัปดาห์
บริโภคสุราปริมาณมากหรือเป็นเวลานาน
มีความต้องการอยู่ตลอดเวลาไม่สามารถหยุดดื่มหรือควบคุมได้
ใช้เวลามากในการแสวงหาสุรา,ดื่มสุรา,หรือส่างเมา
มีความอยากหรือต้องการมากในการดื่มสุรา
ยังคงดื่มสุราอยู่ถึงแม้ว่าจะเกิดปัญหาทางกายหรือจิตจากการใช้สุรา
มีการดื้อสุรา
ใช้สุราปริมาณเพิ่มขึ้นเพื่อให้เกิดการเมา
ผลการใช้สุราลดลงเมื่อใช้ปริมาณเท่าเดิม