Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 สถิติอนุมานสำหรับการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 9 สถิติอนุมานสำหรับการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
9.1การทดสอบแตกต่าง
การทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร
การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรเมื่อตัวอย่างเป็นอิสระกัน
การทดสอบค่าเฉลี่ยของสองประชากรเมื่อตัวอย่างมีความสัมพันธ์กัน
การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว
สมมติฐานทางเดียว
สมมติฐานสองทาง
9.3การวัดความสัมพันธ์โดยสหสัมพันธ์
สหสัมพันธ์อย่างง่าย
คำนวนค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์อย่างง่าย
เพื่อหาว่าตัวแปรมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ มีความสัมพันธ์ทิศทางใด และมีขนาดความสัมพันธ์มากน้อยเพียงใด
ทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์สหสัมพันธ์
เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรอย่างมีนัยสำคัฐ
ถ้าตัวแปรมีความสัมพันธ์กันค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่คำนวนได้จะมีค่าไม่เท่ากับ 0 อย่างมีนัยสำคัญ
ถ้าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเท่ากับศูนย์แสดงว่าตัวแปรทั้งสองไม่สัมพันธ์กัน
สหสัมพันธ์เชิงส่วน
การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่สนใจ 2 ตัว โดยไม่สนตัวแปรอื่นซึ่งมีความสัมพันธ์กับตัวแปรทั่ง2 ตัว
วิธีการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์เชิงส่วนว่าต่างต่างจากค่าศูนย์อย่างนัยสำคัญ
ค่าสัมประสิทธิ์สัมมีค่าได้ตั่งแต่ +1ถึง 1
ตัวแปรจำนวนมากถ้าสามารถหาความสัมพันธ์ของตัวแปรได้มาก ก็จะทำให้สามารถสรุปแนวทางใช้แก้ไปัญหาได้
แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปร
วิธีวัดความสัมพันธ์ของตัวแปร
สัมพันธ์เชิงส่วน
สัมพันธ์พหุคูณ
สัมพันธ์อย่างง่าย
9.4การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์การถดถอยพหุ
ประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุ
ทดสอบนัยสำคัญของค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุ
ประมาณค่าสัมประสิทธิ์แห่งการตัดสินใจของสมการการถดถอยพหุ
การพยากรณ์ค่าตัวแปรของสมการถดถอยพหุ
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์การถดถอย
ประเภทของการวิเคาระห์การถดถอยอย่างง่าย
วิเคาระห์การถดถอยอย่างง่าย
วิเคาระห์การถดถอยพหุ
แบบจำลองสมการถดถอย
สมการถดถอยพหุ
สมการถดถอยอย่างง่าย
วิธีการใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ จะบอกถึงขนาดทิศทาง ของความสัมพันธ์ระหว่าตัวแปร
การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย
ทดสอบนัยสำคัญประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยอย่างง่าย
ประมาณค่าสัมประสิทธิแห่งการตัดสินใจ
ประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยอย่างง่าย
คำนวนโดยใช้สูตร
คำนวนโดยการใช้โปรแกรมSPSS
พยากรณ์ค่าตัวแปรตามของสภาพถดถอยอย่างง่าย
9.2 การทดสอบโดยใช้ไคสแควร์
การทดสอบความเป็นอิสระ
การทดสอบว่าตัวแปรที่สนใจศึกษาสองตัวมีความเป็นอิสระจะเป็นตัวเปรียบเทียบค่าสังเกตุได้กับค่าที่คาดหวังหากทั้งสองค่าทั้งสองใกล้เคียงกันจะยอมรับสมมติฐานว่าตัวแปรทั้งสองเป็นอิสระต่อกัน
การทดสอบสัดส่วน
การทดสอบสมมิฐานเกี่ยวกับตัวแปรหนึ่งที่สนใจใรรูปของค่าสัดส่วนประชากร จะทำการทดสอบว่าสัดส่วนประชากรมีค่าเท่ากันหรือไม่ หากตัวแปรที่มีค่ามากกว่าสองลักษณะจะเป็นการทดสอบว่าสัดส่วนในแต่ละประชากรแตกต่างกันหรือไม่
ข้อจำกัดของการทดสอบด้วยไคสแควร์
ไม่ควรใช้ใช้การทดสอบไคสแควร์เมื่อมีค่าความถี่ที่คาดหมายในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีค่าน้อยกว่า1
ถ้ามีการแบ่งกลุ่มเพียง2 กลุ่ม จมีองศาความเป็นอิสระเท่ากับ1 ไม่ควรใช้แบบทดสอบแบบไคสแควร์
ถ้ามีการแบ่งกลุ่มมากกกว่า2กลุ่มไม่ควรใช้การทดสอบไคสแควร์ เมื่อจำนวนกลุ่มทีทมีค่าความถี่ที่คาดหมายน้อยกว่า5 มากกว่า 20%
ถ้ามีการแบ่งกลุ่มมากกว่า2กลุ่ม จำนวนกลุ่มที่มีค่าความถี่คาดหมายน้อยกว่า 5 มีน้อยกว่าหรือเท่ากับ20% จะใช้การทดสอบแบบไคสแควร์ได้