Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง ในระยะตั้งครรภ์ - Coggle…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง
ในระยะตั้งครรภ์
หลักการเเละเหตุผล
ภาวะครรภ์เป็นพิษ คือ การมีความดันโลหิตสูง 140/90 มิลลิเมตรปรอท
ขึ้นไป ร่วมกับตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
อาจพบในสตรีตั้งครรภ์
ที่มีสุขภาพดี โดยมีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่
ตั้งครรภ์ในขณะอายุน้อยกว่า 17 ปี หรือ
มากกว่า 35 ปี เป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก
มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์มาตรฐาน/ตั้งครรภ์แฝด
เคยมีประวัติครรภ์เป็นพิษหรือโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัว
มีภาวะเลือดแข็งตัวง่าย และมีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง ไต
เบาหวาน โรคแพ้ภูมิตนเอง
การพยาบาล
การวินิจฉัย
1.มีความดันโลหิต systolic สูงขึ้น 30 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า
2.มีความดันโลหิต diastolic สูงขึ้น 15 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่าจาก
ความดันโลหิตเดิม ของหญิงตั้งครรภ์
3.มีความดันโลหิต systolic สูง 140 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า
มีความดันโลหิต diastolic สูงขึ้น 90 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า
อาการบวมกดบุ๋มแบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ
1 + บวมเล็กน้อยบริเวณข้อเท้าและหน้าแข้ง
2 + บวมที่ขาทั้งสองข้าง
3 + บวมที่หน้าและแขน ท้องส่วนล่างและsacrum
4 + บวมทั่วไปและมีภาวะมานน้ำ(ascitis)
ประเภทของความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
Pre - eclampsia และ eclampsia
Chronic Hypertension (CHT)
เกิดจากสาเหตุใดก็แล้วแต่ที่เกิดมาก่อนการตั้งครรภ์
และยังคงสูงอยู่นานกว่า 12
สัปดาห์หลังคลอด
Eclampsia หมายถึง pre - eclampsia ที่มีอาการชักร่วมด้วย
Pre - eclampsia
กลับมาปกติในช่วงหลังคลอด มักมีอาการบวมร่วม
ความดันโลหิตสูงร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะที่เกิดขึ้น
ใหม่หลัง 20 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์ r
-Mild pre-eclampsia
-Severe pre-eclampsia
Pregnancy-aggravated hypertension (PAH)
3.1 Superimposed pre - eclampsia (ไม่มีอาการชักร่วมด้วย)
3.2 Superimposed eclampsia (มีอาการชักร่วมด้วย)
Gestational hypertension
ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ ที่เกิดขึ้นใหม่หลัง 20 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์
4.2 Chronic hypertension masked by early pregnancy
ถ้ายังคงมีอยู่นานเกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
4.1 Transient hypertension
หายไปใน 12 สัปดาห์หลัง
คลอด แต่มีโอกาสเป็นซ้ำ
4.3 Early phase of preeclampsia
จะเกิดความดันโลหิตสูงก่อน 30 สัปดาห์
มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หญิงตั้งครรภ์
มีภาวะความดันโลหิตสูง
1.จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
มักพบในครรภ์แรกที่อายุน้อยกว่า 17 ปี
หญิงตั้งครรภ์เคยผ่านการคลอดมา แล้วหลายครั้งที่อายุมากกว่า 35 ปี
2.บุคคลในครอบครัวที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์มาก่อน
3.เป็นโรคเบาหวานหรือเป็นโรคไต
4.ครรภ์แฝด (Multifetal pregnancy)
5.ครรภ์ไข่ปลาอุก (Hydatidiform mole)
6.ทารกบวมน้ำ (Hyprops fetalis)
7.หญิงตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อนมารดา/ทารก
ผลต่อมารดา
ภาวะชัก
ภาวะหัวใจท างานล้มเหลว (congestive heart failure)
เสียเลือดและช็อคจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
ตับแตกและตกเลือดหลังคลอด
เกิดภาวะ HELLP syndrome และภาวะ DIC
ภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
การกลับเป็นความดันโลหิตซ้ำอีกในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ผลต่อทารก
รกเสื่อม (placental insufficiency)
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกที่คลอดมาอาจมีภาวะแทรกซ้อน ได้แก่
ขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดก่อนกำหนด
ภาวะ hypermagnesenia