Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypoglycemia - Coggle Diagram
Hypoglycemia
โรคเบาหวาน
ความหมาย
โรคเบาหวานป็นกลุ่มโรคของความผิดปกติของการเผาผลาญไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรตซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องของการหลั่ง insulinหรือการออกฤทธิ์ของ insulinหรือทั้งสองสาเหตุทำให้เกิดระดับ น้ำตาลในเลือดสูงภาระดับน้ำตาลสูงเรื้อรังเกี่ยวข้องกับความเสียหายในระยะยาว การสูญเสีย หน้าที่และความล้มเหลวของอวัยวะต่างๆระบบ ประสาทหัวใจและหลอดเลือด
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยเบาหวานมักพบว่ามีความผิดปกติที่ตัวรับ (receptor) ของเซลล์ทำให้ร่างกายไม่สามารถดึงน้ำตาลกูลโคสไปใช้ได้ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงคือภาวะดื้ออินซูลินขณะเดียวกันร่างกายจะปรับใ ห้อยู่ในภาวะที่มีอินซูลิสูงมาก (Hyperinsulinemia) ส่งผลให้เบตาเซลล์ของตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินในระดับปกติได้ในระยะต่อมาจึงมีอินซูลินน้อยลงเป็นผลให้กลูคากอนเพิ่มขึ้นมีผลไ ปเร่งการสลายไกลโคเจนที่ตับทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากขึ้นจนกระทั่งเกิดขีดกักกั้นของไต (Renal threshold) น้ำตาลจะถูกขับออกมาทางปัสสาวะในขณะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก
ชนิดของโรคเบาหวาน
1.โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM) โรคเบาหวาน ชนิดที่เกิดจากการทำลายเบตาเชลล์ของตับอ่อนทำให้ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้เลย ส่วนใหญ่เกิดจากautoimmune ความผิดปกติทางพันธุกรรม การติดเชื้อไวรสัหรือเเบคทีเรียการได้รับสารพิษบางชนิดหรือการเกิดภาวะเคริยดโรคเบาหวานชนิด 1
นี้สามารถพบได้ในทุกวัย เเต่ส่วนใหญ่พบมักพบในเด็ก
2.โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T2DM) โรคเบาหวานที่เกิดจากภาวะดื้อ อินซูลินร่วมกับความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินของตับอ่อน ซึ่งเป็นโรคเบาหวานที่พบได้บ่อย มักเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น ความอ้วน การขาดการออกกำลังกาย การดื้อต่ออินซูลินทำ ให้เซลล์ไมส่ามารถนำกูลโคสในเลือดไปใช้ได้
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เนื่องจากมีอายุที่เพิ่มมากขึ้น พฤติกรรมการชอบกินอาหารหวาน ผลไม้หวานๆ และไม่ชอบออกกำลังกาย
- โรคเบาหวานชนิดที่ 3 (gestational diabetes mellitus, GDM) เป็น โรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ มักเกิดเมื่อไตรมาส 2-3 ของการตั้งครรภ์โดยมการเพิ่มของฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต้านอินซูลิน ไดแก่ human placenta lactogen (HPL) progesterone cortisol และ prolactin เกิดภาวะ insulin resistance มากขึ้นในไตรมาสที่ 2 และ 3 ตามลำดับ ส่งผลให้เกิดเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในผู้ที่มีความเสี่ยงทางพันธุกรรมต่อการเกิดเบาหวาน
- โรคเบาหวานชนิดที่ 4 โรคเบาหวานที่มีสาเหตุอื่น ๆ (specific types of diabetes due to other causes) ที่ทำให้มีการทำลายเบตาเซลล์ของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ ตับออนด้รับบาดเจ็บ การผ่าตัดตับอ่อน มะเร็ง การได้รับยาหรือสารเคมีที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นจนก่อให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของตับอ่อนเนื่องจากตับอ่อนจะทำหน้าที่ในการผลิตอินซูลินดังนั้นหากตับอ่อนมีการเสื่อมสภาพหรือเกิดความผิดปกติกย่อมส่งผลต่อการเกิดโรคเบาหวานได้ด้วย
2.โรคอ้วนผู้ที่มีน้ำหนักมากไขมันส่วนเกินจะสร้างสารที่ทำให้การตอบสนองเนื้อเยื่อร่างกายต่ออินซูลินไม่ดีหรือน้อยชึ่งเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
3.พฤติกรรมเช่น การไม่ออกกำลังกายในชีวิตประจำวัน พฤติกรรมการรับประทานอาหารพฤติกรรมการสูบบหรี่และดื่มสุรา
-
5.พันธุกรรม (Genetic)เบาหวานมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์ส่วนหนึ่งแต่ผู้ที่มีญาติสายตรงอาทิเช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง เป็นเบาหวานก็ไม่จำเป็นต้องป่วยเป็นโรคเบาหวานทุกราย ทั้งนี้ขึ้นกับการควบคุมดูแลปัจจัยเสี่ยง
ภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน
- ภาวะแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง (Chronic complication) หมายถึงภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นตามระยะเวลาการเป็นโรคเบาหวานยังเป็นโรคนานจะมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังได้มากขึ้นการเกิดภาวะนี้เป็นผลจากปัจจัยทั้งที่สัมพันธ์กับเบาหวานโดยตรงและปัจจัยที่ไม่สัมพันธุ์กับเบาหวาน ได้แก่ ระยะเวลาการเป็นเบาหวานระดับน้ำตาลในเลืออดและ HbA1c ในเลือดความันโลหิต พันธุกรรม ภาวะไขมันสูงในเลือด การสูบบุหรี่ภาวะอินซูลินสูงในเลือดและภาวะดื้ออินซูลนิพบมากในผู้เป็นเบาหวานสูงอายุเพราะมีอายุยืนขึ้น
- ภาวะแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน (Acute complication) หมายถึงภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและอาจรุนแรงเป็นอันตรายถึงแก่ชวิตได้ ได้แก่ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ( Hypoglycemia) ภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดภาวะเลือดเป็นกรดจากสารคีโตน (Diabetic Ketoacidosis, DKA) ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) ภาวะเลือดขึ้นจากระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงมากฃ Hyperglycemic Hyperosmolar Non-ketotic Syndrome, HHNS) ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอาจหมดสติหรือเสียชวิตได้
-
-
-
-
-
ความหมาย
- เป็นภาวะที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 70 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
-
-
- สาเหตุหลักเนื่องมาจาก ผู้เป็นเบาหวานได้รับอินซูลินหรือยารักษาเบาหวานชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์กระตุ้นให้ร่างกายหลั่งอินซูลินเพิ่มขึ้นมากเกินไป เช่น รับประทานอาหารหรืออาหารว่างน้อยเกินไป รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
-
การรักษา การพยาบาล
1.ประเมินอาการแสดงของภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด (hypoglycemia) และตรวจระดับนํ้าตาลในเลือดจากปลายนิ้ว(capillarybloodglucose: CBG)ได้น้อยกว่า70 มก./ดล
-
-
พยาธิสภาพ
น้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 70 ml/dL และต่ำลงอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเธติก เกิดอาการกระวนกระวายหงุดหงิด หิว ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว มือสั่น เหงื่อออก เพลีย เป็นลม ถ้าระดับน้ำตาลในลือดต่ำลงย่างช้าๆ อาการมักเกิดจากประสาทขาดน้ำตาล อาการคือ ปวดศีรษะ อารมณ์เปลี่ยนแปลง พูดไม่ชัด มองภาพไม่ชัด มึนงง หมดสติ ชัก อาการเหล่านี้จะหายไปเมื่อได้กลูโคสทดแทน (การให้กลูโคสทดแทนล่าช้าอาจเกิดจากการทำลายสมองอย่างถาวร ดังนั้นควรให้กลูโคสไม่เกินภายใน 1 ชั่วโมง)
-
ขั้นตอนจัดการ
- กรณีผู้ป่วยรู้สึกตัว (มีสติ) กินไม่ได้งดอาหารและน้ำดื่มให้ดำเนินการดังนี้
-
-
-
- ในกรณีที่ผู้ป่วยหมดสติและ / หรืออยู่ในภาวะงดอาหารและเครื่องดื่ม (ไม่มีอะไรทางปาก (NPO)) ให้ดำเนินการดังนี้
-
-
2.4 การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วซ้ำหลังจากให้กลูโคส 15 นาทีและประเมินการตอบสนองของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
-
2.4.2 ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้ว 70 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไปให้ประเมินและป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดซ้ำ
สาเหตุ
-
2.รับประทานอาหารปริมาณน้อยกว่าปกติหรือไม่เพียงพอ หรืองดมื้ออาหาร หรือเลื่อนเวลารับประทานอาหาร รวมไปถึงปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารที่ทำให้ปริมาณคาร์โบไฮเดรตหรือน้ำตาลต่ำลง
-
-
-