Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE II, PRE-OP VASCULAR NURSING CARE,…
CARDIOVASCULAR DISEASE II
ARTERIAL OCCLUSION
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดแดงตีบแข็งเนื่องจากไขมันสะสม
เลือดไหลไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายที่ต่ ากว่าบริเวณอุดตันลดลง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
•DM, HT, Lipidemia
•สูบบุหรี่จัด
•กรรมพันธุ์
•อาหารไขมัน
•ไม่ออกกำลังกาย
•อ้วน
•สูงอายุ
•ความเครียด
อาการแสดง
•คลำชีพจรไม่ได้
ผิวหนังซีด เย็น ปวด ชา ตะคริว อ่อนแรง
Intermittent Claudication
การตรวจพิเศษ
•ankle-brachial index: ABI
•Duplex ultrasound scanning
•Arteriography
การรักษา
•ปรับพฤติกรรมเสี่ยง
•ยา
•การขยายหลอดเลือด
•การผ่าตัด
วิธีผ่าตัด
•Sympatectomy
•Embolectomy or Thrombectomy
•Arterial embolectomy
•Arterial bypass surgery
•Amputation
COMPLICATION
•การอุดตันในหลอดเลือด
•การติดเชื้อ
•ภาวะ bleeding
•การบวมของกล้ามเนื้อน่อง
•ภาวะเนื้อเยื่อของท่อไตตายเฉียบพลัน
ANEURYSM
AORTIC ANEURYSM
หลอดเลือดแดงใหญ่มีขนาดโตขึ้น
ผนังหลอดเลือดบาง ปริและรั่วซึมได้
มีเลือดคั่งในช่องอกหรือช่องท้อง
ถ้าเส้นเลือดที่โป่งพองแตกออกอาจเสียชีวิต
ปัจจัยเสี่ยง
อาการแสดง
•อาการเกิดจากที่หลอดเลือดขนาดใหญ่ไปกดเบียดอวัยวะข้างเคียง
กดหลอดลมหรือปอดทำให้หายใจลำบาก
กดเบียดหลอดอาหารทำให้กลืนลำบาก
กดเบียดเส้นประสาทที่เลี้ยงกล่องเสียงทำให้มีเสียงแหบ
การรักษา
•การคุมความดันโลหิต
•คุมระดับไขมันในเลือด
•หยุดสูบบุหรี่
•การผ่าตัดOpen Surgery
(Stent Graft)
HYPERTENSION
มี 2 ชนิด
Primary Hypertension
ชนิดไมมีสาเหตุ มักไม่มีอาการ
พบร้อยละ 90
Secondary Hypertension
ชนิดที่มีสาเหตุ พบร้อยละ 10
สาเหตุที่พบบ่อย คือ ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
ปัจจัยเสี่ยง
การนอนกรน
อาการ
อ่อนเพลีย
เหนื่อยง่าย ใจสั่น
มือเท้าชา ตามัว
อัมพาตเสียชีวิตเฉียบพลัน
ปวดมีนท้ายทอย/ศรีษะ
ภาวะแทรกซ้อน
•ภาวะหัวใจล้มเหลว
•ไตวาย
•หลอดเลือดสมองแตก
•หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
•อัมพาต
•ประสาทตาเสื่อม
การรักษาแบบใช้ยา
ควรรับประทานยาตามแพทย์สั่ง
ไม่ควรหยุดยาหรือปรับเปลี่ยนยาด้วยตัวเอง
พบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
ตรวจวัดความดันสม่ำเสมอ
DEEP VEIN THROMBOSIS
DVT
•ภาวะที่มีลิ่มเลือดก่อตัวที่หลอดเลือดดำส่วนลึกในร่างกายโดยอาจเกิดขึ้นที่ตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
VTE
•ภาวะที่มีลิ่มเลือดก่อตัวขึ้นโดยมากจะเป็นที่หลอดเลือดดำลึกที่ขา
PE
•ภาวะที่หลอดเลือดบริเวณปอดเกิดการอุดกั้นส่วน
ใหญ่มักเกิดจากลิ่มเลือดที่อุดตันบริเวณหลอดเลือดขาหลุดไปอุดกั้นหลอดเลือดปอด
สาเหตุ
•เลือดไหวเวียนช้า
•การจับตัวของเลือดในหลอดเลือด
•เส้นเลือดได้รับบาดเจ็บ
•ปัญหาการแข็งตัวของเลือด
•มีการใส่สายสวนที่หลอดเลือด
การตรวจวินิจฉัย
Ultrasound Venous Doppler
•D-Dimer
Venography
Computed Tomography (CT) scan หรือ MRI
การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา
(Anticoagulants)
เพื่อลดการจับตัว
กันของเลือดเป็นลิ่มเลือด
การวางตะแกรงกรองลิ่มเลือด
การผ่าตัด
THROMBOPHLEBITIS
การอักเสบของหลอดเลือดดำลักษณะบวมแดง กดเจ็บ ร่วมกับมี blood clot บริเวณหลอดเลือดดำชั้นไม่ลึก
สาเหตุ
Varicose veins
Pregnancy
Birth control pills
Hormone replacement therapy
Smoking
Inherited blood-clotting disorder
Obesity
Increased age
การพยาบาล
(เพื่อบรรเทาอาการด้วยการประคบอุ่นบริเวณที่เป็น)
(ยกสูงในส่วนของแขนขาที่เป็น)
(ลดบวมด้วยยาที่ไม่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์)
(การเอา blood clot ออก)
VARICOSE VEIN
พยาธิสภาพ
ลิ้นในหลอดเลือดเสื่อมสภาพ
การไหลเวียนของเลือดดำก็จะเสียไป
ก่อให้เกิดเลือดดำคั่งในเส้นเลือดดำที่ขาอย่างเรื้อรัง
แรงดันในเส้นเลือดดำสูงอย่างเรื้อรังเช่นกัน
ทำให้ผนังเส้นเลือดดำยืด หย่อน โป่งพอง
เกิดเป็นเส้นเลือดขอด
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ เพศ พันธุกรรมและเชื้อชาติ อาชีพ หญิงตั้งครรภ์
คนอ้วนหรือผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย
ภาวะแทรกซ้อน
•เกิดแผลบริเวณขาและเท้าได้ง่ายแผลหายช้าจากการไหลเวียนเลือดไม่ดี
•อุบัติเหตุถูกของมีคมตรงเส้นเลือดขอด เกิดแผลเลือดออกรุนแรงได้
•เส้นเลือดขอดเรื้อรัง สีของเท้าจะคล้ำแดงขึ้นหรือดำคล้ำจากการคั่งของเลือด
Thrombophlebitis
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
การตรวจ
การไหลย้อนกลับของเส้นเลือดดำ
การอุดตันของเส้นเลือดดำ
ภาพเส้นเลือดและการไหลเวียนเลือด
ด้วยเครื่องแม่เหล็กไฟฟ้า
Venography
CBC เพื่อดูการทำงานของเกล็ดเลือด
การรักษา
Conservative treatment โดยการใส่ถุงน่องสำหรับเส้นเลือดขอด
Sclerotherapy
Nd:YAG laser
RFA
Low level laser therapy
EVLA
Varicose vein stripping
รักษาด้วยยา
ยากลุ่ม Diosmin และ Hesperidin
ครีมหรือยาทาเพื่อรักษาเส้นเลือดขอด
การดูแลตนเอง
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ไม่นั่งไขว่ห้างหรือนั่งห้อยเท้าเป็นเวลานาน
หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งเป็นเวลานาน
ไม่ใส่รองเท้าส้นสูง
ลดน้ าหนักอย่างเหมาะสม
PRE-OP VASCULAR NURSING CARE
นอนท่าศีรษะสูงประมาณ 6 นิ้ว ปลายเท้าต่ ากว่าหัวใจ
งดสูบบุหรี่
ควบคุมอาหาร
หลีกเลี่ยงหวาน มัน เค็ม
ออกกำลังกาย
การดูแลเท้า
ตรวจดูเท้า รักษาความสะอาด
ใส่รองเท้านุ่มพอเหมาะ ระวังการตัดเล็บเท้า
การดูแลแผลขาดเลือด
ทำความสะอาดด้วย NSS และน้ำยา
การให้คำแนะนำเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือด
หลีกเลี่ยงการยืนท่าเดียวนานๆ
หลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง หรือกดบริเวณหัวเข่า
ยกขาสูงกว่าหัวใจเมื่อมีอาการบวม
ข้อบ่งชี้การผ่าตัด
•ไม่สามารถรักษาด้วยยาหรือทำหัตถการได้
•อาการปวดรุนแรงหรือปวดในขณะพัก (rest pain) มากกว่า 2 สัปดาห์
•มีการอุดตันที่รุนแรงและมีแนวโน้มเกิดแผลขาดเลือด
•เกิดเนื้อตายของเนื้อเยื่อส่วนปลายเป็นแผลเรื้อรัง
•เกิดก้อนเลือดอุดตันที่ปอด
POST-OP VASCULAR NURSING CARE
•Record Vital Sign, I/O
•ยกขาสูงเพื่อลดบวม
•คลำชีพจรบริเวณข้อมือหรือข้อเท้า
•ตรวจการรับความรู้สึกและการทำงานแขนขา
•Anticoagulant drugs