Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร …
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
แนวคิด องค์ประกอบและตัวอย่างของการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การสร้างนวัตกรรม
การวิจัยและพัฒนา ความหมายและองค์ประกอบ
องค์ประกอบพื้นฐาน > แบบจำลอง/การจำลองแบบ/ต้นแบบ
หมายถึงการวิจัยที่กำหนดผลลัพธ์เป็นการออกแบบ “แบบจำลอง/โมเดล"ที่ใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมเพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่จากการทดสอบตามกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผลได้จากการวิจัยจะถูกนำมา พัฒนานวัตกรรมที่เป็นทางเลือกใหม่ เพื่อเกิดการยกระดับมาตรฐานขององค์กร ทั้งด้านการเพิ่มรายได้คุณภาพชีวิตโอกาสใหม่ๆและการพัฒนาแบบยั่งยืน
คุณลักษณะที่พึงปรารถนาและอุปนิสัยที่จำเป็นของนักวิจัย
คุณลักษณะที่พึงปรารถนา “เน้น/focus” กลยุทธ์สำคัญ มีคุณค่าความสร้างสรรค์
อุปนิสัย > มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน เข้าใจองค์ประกอบพื้นฐาน กำหนดกลยุทธ์ ประเด็นการวิจัยที่เหมาะสม เดินหน้าการวิจัยแบบคลำทาง ความเชื่อมั่น
แนวคิด กระบวนการและเครื่องมือพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักเพื่อตอบ
โจทย์การวิจัยและพัฒนา
แนวคิดการวิจัยและพัฒนาเพื่อการขับเคลื่อนนวัตกรรม
ชนิดของแบบจำลอง
การจำลองแบบ
แบบจำลองจะช่วยให้การอธิบายดำเนินไปอย่างเหมาะสม และถูกต้อง
การเลือก “แบบจำลอง” เพื่อทำการ “จำลองแบบ” ให้เป็น “ต้นแบบ”
กระบวนการขับเคลื่อนการวิจัย
สร้างแบบจำลองที่จะนำไปสู่การวิจัยและพัฒนา ต้องมีประเด็นเกี่ยวข้อง
พัฒนาและกำหนดกรอบแบบจำลอง
สร้างการจำลองแบบ/จำลองสถานการณ์
ตรวจสอบ และทดสอบ
จำลองแบบ/จำลองสถานการณ์
พัฒนานวัตกรรมที่เป็น “ต้นแบบ” ใน
การนำไปปรับใช้
เครื่องมือการวิจัยและพัฒนา
กลุ่มการกำหนดประเด็นปัญหาและหาเหตุและผล
กลุ่มการแก้ไขปัญหา
3.การวิเคราะห์เพื่อประเมินค่า
กลุ่มกำหนดแบบจำลองและจำลองแบบ
5.กลุ่มการสร้างแบบจำลองความเป็นเลิศทางธุรกิจ
กลุ่มการจัดการรับมือการเปลี่ยนแปลง
กลุ่มการสร้างกลยุทธ์
8.กลุ่มเทคนิคการสร้างกลยุทธ์เชิงปริมาณ
การวิเคราะห์โอกาสและยุทธศาสตร์การสร้างนวัตกรรมด้วยการวิจัยและพัฒนา
ขององค์กรชุมชน
โอกาสและยุทธศาสตร์เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
ยุทธศาสตร์ > การยกระดับความสามารถของเกษตรกรเป็นการยกระดับรายได้ ความเป็นอยู่นำไปสู่ความมั่นคง
มั่งคั่งความยั่งยืนของไทย/“กลุ่มธุรกิจ” เป็นเครื่องมือ และกลไกสำคัญในการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการ
แข่งขัน
โอกาส > การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในช่วงปี 2559-60 /การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่4/ทิศทางการส่งออกอาหารสำเร็จรูปของไทยให้เพิ่มต่อเนื่อง/แนวโน้มความต้องการของสากล
การสร้างนวัตกรรมของการวิจัยและพัฒนาของเครือข่ายในชุมชน
นวัตกรรมเกิดจากความรู้/เทคโนโลยีใหม่ๆการพัฒนานวัตกรรม
กระบวนการวิจัยและพัฒนาการสร้างนวัตกรรมในการส่งเสริมแลพัฒนาการเกษตร 1.ภาพรวมองค์รวมความคิดของที่เป็นการเชื่อมโยงระหว่างกระบวนการวิจัยและพัฒนาวิสาหกิจ
ชุมชนกับแนวคิดเกี่ยวข้องเพื่อสร้างนวัตกรรมฯ 2.การกำหนดแบบจำลอง ของการตอบโจทย์ความสำเร็จว่าเครือข่ายต้องการนวัตกรรม
อะไรมาตอบโจทย์ของชุมชน 3.การจำลองแบบเพื่อทดสอบโมเดล