Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลไกลการคลอดและ องค์ประกอบของการคลอด - Coggle Diagram
กลไกลการคลอดและ
องค์ประกอบของการคลอด
กลไกการคลอด
หมายถึง ลำดับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวทารก ในขณะเคลื่อนผ่านช่องเชิงกรานลงมา จนการคลอดสมบูรณ์
กลไกการดลอดปกติ
หมายถึง กลไกการคลอดที่สิ้นสุดลงได้เองในลักษณะที่
ท้ายทอยของทารก คลอดออกมาทางด้านหน้าของช่องเชิงกราน หรือศีรษะทารกคว่ำหน้าออกมา
** Vertex presentation และ bregma presentation เท่านั้น
องค์ประกอบที่ทำให้เกิดกลไกการคลอด
ช่องเชิงกรานหรือช่องทางคลอด
ลักษณะรูปร่าง ส่วนต่างๆ ของทารกในครรภ์
กลไกการคลอดปกติ
(mechanism of normal labor)
กลไกที่เกิดขึ้นภายในช่องทางคลอด
3. Descent (การเคลื่อนต่ำ)
กลไก descent จะเกิดตลอดเวลาและเกิดร่วมกับกลไกการคลอดทั้งหมด
การเคลื่อนต่ำ มักเริ่มต้นพร้อมกับ engagement
ในขณะเริ่มเจ็บครรภ์คลอด
หมายถึง การเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก
ผ่านช่องทางคลอดออกสู่ภายนอกร่างกายมารดา
องค์ประกอบ
ในการเกิด descent
Fetal axis pressure (แรงที่กดลงโดยตรงต่อก้นทารก)
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง ..เกิดในระยะที่ 2 ของการคลอด
Hydrostatic pressure (แรงดันจากน้ำคร่ำ) ..แรงอัดภายในโพรงมดลูกซึ่งกดลงบนทุกจุด
ทราบได้อย่างไรว่าศีรษะทารกเกิด descent แล้ว
คลำได้ส่วนของทารกโดยเฉพาะศีรษะเคลื่อนต่ำลงเรื่อยๆ
ตำแหน่งเสียงหัวใจทารกเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อย ๆ
PV.. station ระดับของส่วนนำจะต่ำลงมาเรื่อย ๆ
ผู้คลอดจะรู้สึกเจ็บเหมือนถูกกดบริเวณส่วนล่างของช่องทางคลอด
รู้สึกอยากเบ่ง และปวดคล้ายปวดถ่ายอุจจาระ
2. Flexion (การก้ม)
องค์ประกอบในการเกิด flexion
1. Fetal axis pressure
คือ แรงผลักดันจากยอด
มดลูกที่พุ่งตรงลงมาตามแนวกระดูกสันหลังของทารก
2. ลักษณะของช่องเชิงกราน
ส่วนเว้าของผนังด้านหน้าของ sacrum มีความลาดเอียงลงไปทางด้านหลัง ประกอบกับแรงถ่วงจากน้่าหนักของศีรษะทารกที่อยู่ในท่าoccipito-anterior ท่าให้ศีรษะทารกก้มมากขึ้น เอาแนวเส้นผ่าศูนย์กลาง SOB ผ่านลงมา
3. แรงบีบจากผนังทางคลอดรอบศีรษะทารก
เมื่อศีรษะก้มบ้างแล้ว ส่วนนูนของท้ายทอยและหน้าผากไม่อยู่ในระดับเดียวกัน มีผลท่าให้แรงบีบจากผนังทางคลอดไม่อยู่ตรงแนวกันและเป็นแรงที่สวนทางกัน
4. แรงต้านทานเสียดสีของช่องทางคลอด (resisting force)
เป็นผลสะท้อนจากแรงผลักดัน ต่าแหน่งที่ท่าให้เกิดแรงเสียดสีต้านทานเกิดขึ้นได้มาก คือ บริเวณช่องทางเข้าเชิงกราน ผนังของช่องเชิงกราน ช่องออกของเชิงกราน และpelvic floor โดยเฉพาะ pelvic floor ซึ่งเป็นจุดสุดท้ายที่มีการก้มของศีรษะทารกเต็มที่ก่อนที่จะเกิดการหมุนของศีรษะทารก
การประเมิน Flexion
1) การตรวจทางหน้าท้อง
โดยคล่าหา cephalic pominence sinciput prominence ชัดเจน และอยู่สูงขึ้น ไปทางสะดือแม่มากกว่าระดับ occiput
2) การตรวจทางช่องคลอด
โดยหาต่าแหน่ง fontanelle โดยเฉพาะ small fontanelle ถ้า small fontanelle ยิ่งต่่ามาก เท่าไร แสดงว่าทารกมี flexion มากขึ้นเท่านั้น
หมายถึง
การก้มของศีรษะทารก
เป็นการเปลี่ยนแปลงทรง (attitude)ของศีรษะทารก โดยศีรษะจะก้มตำ่มากขึ้นเมื่อศีรษะผ่านลงมาในหนทางคลอด
4. Internal rotation
(การหมุนภายใน)
หมายถึง การหมุนของส่วนศีรษะทารกในครรภ์
ที่เกิดขึ้นภายในช่องเชิงกราน เพื่อให้อยู่สภาพที่เหมาะสมกับช่องเชิงกราน
องค์ประกอบในการเกิด
1. ช่องเชิงกราน
มีรูปร่างและ
เส้นผ่าศูนย์กลาง แตกต่างกัน
ทางเข้าช่องเชิงกราน – รีตามขวาง
ช่องกลาง - รูปกลม และ ช่อง
ทางออก - รีตามแนวหน้าหลัง
และทางด้านหลังมีส่วนเว้าของผนังหน้า ของกระดูก sacrum
2. ตัวทารก
ศีรษะทารกมีระยะจากหน้าหลังยาวกว่าด้านขวาง จึงพยายามปรับ diameter ที่ยาวที่สุดของ ศีรษะไปอยู่แนวเดียวกับที่ยาวที่สุดของช่องเชิงกราน
3. Pelvic floor
เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดทำให้มีการหมุนของศีรษะ
ขวางทางคลอดอยู่ ลักษณะเว้าเหมือนชามอ่าง มีส่วนเว้าอยู่ข้างในด้านหลัง
Occiput
เป็น denominator
หมุนแบบ anterior rotation
หมุนไปอยู่ใต้ SP
จะทราบได้อย่างไรว่าศีรษะ
ทารกเกิดinternal rotation แล้ว
1. การตรวจทางช่องคลอด
เมื่อมีการหมุนของศีรษะทารกสมบูรณ์แล้วจะพบรอยต่อแสกกลางของศีรษะอยู่ในแนวหน้าหลังของช่องออกของเชิงกราน
1. Engagement
(การเข้าสู่ช่องเชิงกราน)
หมายถึง ส่วนที่มีขนาดกว้างที่สุดของ
ส่วนน่า
ผ่านลงสู่ช่องเข้าเชิงกราน
(pelvic inlet) แล้ว
ในทารกที่มีศีรษะเป็นส่วนน่าส่วนที่กว้างที่สุดของศีรษะทารก คือ biparietal diameter
หมายเหตุ
ครรภ์แรก เกิด Engagement ในช่วง 2 - 4wk. สุดท้ายของการตั้งครรภ์ ทำให้ระดับยอดมดลูกลดลงเกิด lightening (ท้องลด)
ครรภ์หลัง เกิด Engagement เมื่อเข้าสู่
ระยะคลอด
องค์ประกอบในการเกิด engagement
ช่องเชิงกรานมีรูปตามขวางแคบกว่า
False pelvis เนื้อที่กว้าง
ด้านหลังมีโหนกของ sacrum ด้านหน้ามีขอบบนกระดูก pubis
ศีรษะทารกที่จะผ่านลงช่องเชิงกรานได้
จะต้องมีการปรับให้เหมาะสมกับช่องทางคลอดดังนี้
1) มี molding ของศีรษะทารก
เมื่อศีรษะทารกถูกเสียดสีกับทางเข้าช่องเชิงกราน กระดูก Occiputal และ frontal จะขบเข้าไปอยู่ใต้กระดูก parietal และ parietal ข้างหนึ่งจะเกยอยู่บนอีกข้างหนึ่ง
ท่าให้ขนาดของศีรษะทารกที่เล็กลง คือ SOB, SOF และ OF ส่วน OM จะยาวขึ้น
โดยกระดูกกะโหลกศีรษะเคลื่อนเข้ามาขบเกยกัน
2) การก้มของศีรษะทารก
เพื่อปรับให้ศีรษะทารกส่วนที่เล็กที่สุด คือ SOB
เคลื่อนผ่านช่องเชิงกรานลงมาได้
การปรับศีรษะให้เหมาะกับรูปร่างของเชิงกราน
4) การตะแคงของศีรษะทารก (asynclitism)
ทารกเอาส่วน posterior parietal bone เคลื่อนลง มาต่ำกว่า เรียกว่า
posterior asynclitism หรือ Liztmann’s obliquity
ศีรษะทารกเคลื่อนลงมาตรงๆ ไม่ตะแคง เรียกว่า
Synclitism
ตรวจพบ sagittal suture อยู่กึ่งกลางระหว่าง symphysis pubis กับ promontory of sacrum
ทารกเอาส่วน anterior parietal bone เคลื่อนลงมาต่ำกว่า เรียกว่า
anterior asynclitism หรือ Naegele’s obliquity
ก่อนศีรษะคลอดต้องเปลี่ยนการตะแคง เป็นแบบ Synclitism ทุกรายหากไม่...อาจคลอดติดขัดได้
การประเมิน engagement
ตรวจครรภ์
ไม่สามารถโยกคลอนส่วนน าไปมาได้
Pawlik’s grip
สอบมือเข้าหากันไม่ได้
Bilateral Inguinal grip
ตรวจทางช่องคลอด
ส่วนต่ าสุดของกระโหลกศีรษะทารก เคลื่อนลงมาถึง ischial spines (station 0)
รู้สึกท้องลด (lightening) และ
มีปัสสาวะบ่อย
5. Extension (การเงย)
หมายถึง การเงยของศีรษะทารกผ่านพ้นช่องทาง
คลอดออกมาภายนอกร่างกายมารดา
องค์ประกอบในการเกิด Extension
แรงต้าน - แรงผลักดัน
3. ตัวทารก
มีข้อต่อต่างๆที่สามารถท่าให้ส่วนของทารกเคลื่อนเปลี่ยน ทิศทางได้ โดยเอา
subocciput
ยันใต้โค้งกระดูกหัวหน่าว
เป็นจุดหมุน
ช่องทางคลอดแนวล่างที่มีทิศทางหักมุมโค้งขึ้นมาทางด้านหน้า
ศีรษะทารกเริ่มเงย คางห่างจากอก หน้าผาก จมูก และคาง คลอดผ่านออกมาตามล่าดับ ในที่สุดศีรษะคลอดผ่าน hollow of sacrum ออกมา การคลอดของศีรษะก็สิ้นสุด
ถ้าแรงต้านทานจากพื้นเชิงกรานและฝีเย็บมีมาก ศีรษะทารกจะเงยมากกว่าปกติ และถ้าแรงต้านทานนี้น้อย ทารกจะเคลื่อนออกมาตรง ๆ ทั้งสองกรณีมีผลเสียต่อแม่ เพราะจะท่าให้เกิดการฉีกขาดบริเวณปากช่องคลอด
และช่องทางคลอดได้มาก
การประเมินกลไก Extension
ศีรษะทารกเงยขึ้น เอาส่วน SOB, SOF, SOM ออกมา ตามลำดับ
ใต้ท้ายทอย (subocciput) ยันใต้โค้งกระดูกหัวหน่าว (pubis bone)
กลไกที่เกิดขึ้นภายนอกช่องทางคลอด
7. External rotation
(การหมุนกลับต่ออีก 45 องศา
)
คือ การหมุนของศีรษะทารกที่เกิดขึ้นภายนอกช่องทางคลอดเกิดต่อจาก Restitution เพื่อให้สัมพันธ์กับไหล่
การประเมินกลไก External rotation
พบศีรษะหมุน ต่อไปอีก 45 องศา
Sagittal suture อยู่แนวขวาง
8. Expulsion (การคลอดลำตัว)
คือ การขับเคลื่อนเอาตัวทารกออกมาทั้งหมด ได้แก่ การคลอดไหล่ แขน ลำตัว สะโพก ขาและเท้า ตามล าดับ
การคลอดไหล่
ไหล่เกิด engagement เมื่อ bisacromial diameter เข้าสู่ช่องเชิงกรานในแนวขวาง ไหล่จะมีการเคลื่อนต่ำ จนกระทั่งมี internal rotation ครบสมบูรณ์โดย sacromial diameter อยู่แนวหน้าหลังของทางออกของเชิงกราน
การคลอดล่าตัวและส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย
เมื่อศีรษะคลอดเรียบร้อยแล้ว ส่วนของล่าตัวมี l
ateral flexion
ส่วนของอก แขนท้อง สะโพก และขาจะคลอดออกมาโดยง่ายเพราะมีขนาดเล็ก
การประเมินกลไก Expulsion
พบ ไหล่บนจะยันใต้รอยต่อ public symphysis
6. Restitution
(การหมุนกลับ 45 องศา)
หมายถึง การ
หมุนกลับ
ของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอดให้กลับไปอยู่ในสภาพที่สัมพันธ์ของ
ศีรษะทารกกับส่วนของลำตัวที่อยู่ภายในช่องทางคลอดให้เป็นไปตาม
ธรรมชาติ
องค์ประกอบ
ในการเกิด Restitution
การปรับ
ศีรษะ
ที่อยู่ภายนอกช่องคลอด ให้สัมพันธ์กับ
ไหล่
ซึ่งอยู่ภายในช่องทางคลอด
การประเมินกลไก Restitution
พบศรีษะหมุน 45 องศา