Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน, นางสาวพลอยวรินทร์ ขันธหงษ์ เลขที่ 055 1B -…
ความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน
โครงสร้างและหน้าที่ของAb
Epitope or antigenic determinant เป็นส่วนของ Ag ที่ Ab เข้าไปจับ (Ab ใช้ antigen binding site ในการจับ)
แบคที่เรียตัวหนึ่ง ๆ อาจมี epitope สำหรับจับกับ Ab ได้ถึง 4 ล้านโมเลกุล
Ab เป็อป globular serum protein (Igs)
polypeptide 4 สาย
2 สายเป็น heavy chain
2 สายเป็น light chain
constant region ของ heavy chain จะจำเพาะกับชนิดของ Ig
variable region ของทั้ง light & heavy chain จะจำเพาะกับ epitope หนึ่ง ๆ
Immune System
ป้องกันและทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ
กำจัดเซลล์ที่เสื่อมสภาพออกจากระบบของร่างกาย
จับตาดูเซลล์ที่แปรสภาพผิดไปจากปกติ
Antigen เป็นโมเลกุลของโปรตีนที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองเป็นสารก่อภูมิต้านทานที่นำไปสู่การสร้าง
Antibody สร้างขึ้นเพื่อกำจัดและทำลายแอนติเจนหรือสารแปลกปลอม
จำแนกเป็น 2 ระบบ
ได้รับมาแต่กำเนิด (Innate Immunity)
ถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรม
ส่งผลให้ทารกแรกเกิดมีภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติต่อโรคบางชนิด
โรคหัด
ไข้ทรพิษ
โรคคอตีบ
ได้รับมาภายหลัง (Acquired Immunity)
กิดขึ้นจากการที่ร่างกายได้รับสิ่งแปลกปลอมหรือการ
กระตุ้นจากวัคซีนต่าง ๆ
เป็นระบบภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะเจาะจง
หัด
อีสุกอีใส
มิต้านทานไข้ทรพิษ
คางทูม
กลไกป้องกัน
มี 2 แบบ
Nonspecific defense mechanisms แบบไม่จำเพาะ
1.1 First line of defense
การป้องกันภายนอกร่างกาย
ผิวหนังและmucous membrane
ชำระล้างออกโดยน้ำลาย น้ำตา และ mucous
Lysozyme สามารถย่อยผนังเซลล์
ของแบคทีเรียได้หลายชนิด
Gastric mucous ในกระเพาะมีความเป็น
กรดสูง สามารถทำลายแบคทีเรียได้ดี
1.2 Second line of defense การป้องกันภายในร่างกาย
การเกิด phagocytosis โดยเม็ดเลือดขาว
Neutrophils มีช่วงชีวิตประมาณ 2-3วัน
Monocyte พัฒนาเป็น macrphage (big-eater) มีช่วงชีวิตค่อนข้างยาว
Eosinophil ทำหน้าที่ทำลายพยาธิ
Natural killer (NK) cell ทำหน้าที่ทำลาย
virus-infected body cell
Antimicrobial protein
มีโปรตีนหลายชนิดทำหน้าที่ป้องกัน/ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่บุกรุกร่างกาย
complement system ทำหน้าที่ย่อย microbes และเป็นchemokines ต่อ phagocytic cells
interferone เป็นสารที่หลั่งจาก virus-infected cell เพื่อยับยั้งการ infect ของ virus
The Inflammatory Response
บริเวณที่เป็นแผล เกิดการบวมแดง
หลั่ง histamine จากเนื้อเยื่อ (นอกจากนี้ยังหลั่งได้จาก basophil &mast cell) ทำให้permeability ของ capillary เพิ่ม
Specific defense mechanisms แบบจำเพาะ
การทำงานของlymphocytes และการผลิตantibody
2.1 Humoral (antibody-mediated) immune response -cell (B-cell)
2.2 Cell-mediated immune response T-cell
Immunological Memory
เผชิญกับ Ag เป็นครั้งแรก
ใช้เวลา 10-17 วัน
primary immune response
เจอกับ Ag เดิมอีก เป็นครั้งที่ 2 ใช้เวลาเพียง 2-7 วัน
secondary immune response
ระบบภูมิคุ้มกันและการเกิดโรค
Blood group and blood transfusion
blood group antigen เกิดการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันแบบ
T-independent response
2.ภูมิแพ้ (allergy)
ภูมิแพ้เป็นสภาวะ hypersensitive
ของร่างกายต่อ allergens
เจอ allergenครั้งแรก B cell เปลี่ยนเป็น
plasma cell และหลั่ง IgE
บางส่วนของ IgE เข้าจับกับ Mast cell(โดยใช้ส่วนหางจับ)
ได้รับ allergen อีกครั้ง จะจับกับ IgE ที่อยู่บน Mast cell
จึงไปกระตุ้นให้ mast cell หลั่งสาร histamine
AIDS
-เกิดจากไวรัส HIV เข้าไปทำลายระบบภูมิคุ้มกัน
หมู่เลือดกับการให้เลือด
หลักการ Antigen ของผู้ให้ต้องไม่ตรงกับ Antibody ของผู้รับ
หมู่ AB = ผู้รับสากล
(Universal recipient)
หมู่ O = ผู้ให้สากล
(Universal donor)
นางสาวพลอยวรินทร์ ขันธหงษ์ เลขที่ 055 1B