Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด
การรับผู้คลอดใหม่
การซักประวัติ
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมารพ.
มูก (Show)
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก (Rupture of membranes)
การเจ็บครรภ์จริง (Labor pain)
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการแท้งการขูดมดลูก
ประวัติภาวะแรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ประวัติการคลอด
ประวัติของทารก
ประวัติความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในระยะคลอดและหลังคลอด
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
อายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนหรืออาการผิดปกติขณะตั้งครรภ์
ลำดับของการตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมและศัลยกรรมทั้งปัจจุบัน และอดีต
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ รวมถึงการผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
โรคหรือความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรคติดเชื้อต่างๆ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติด้านจิตสังคม
อาจประเมินเมื่อผู้คลอดอยู๋ในระยะที่ปลอดภัยหรือภายหลังที่รับผู้คลอดไว้ในห้องคลอด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทั่วไป
ลักษณะรูปร่าง
หากความสูง < 145 cm อาจมีปัญหา
ลักษณะทั่วไป
สัญญาณชีพ
อัตราชีพจร
การหายใจ
อุณหภูมิ
ความดันโลหิตสูง
น้ำหนัก
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
อาการบวม (Edema)
การตรวจเฉพาะที่
การดู
ลักษณะมดลูก
การเคลื่อนไหวของทารก
ขนาดของมดลูก
ลักษณะทั่วไปของท้อง
การฟัง
การฟังเสียงหัวใจทารก
ระยะที่สองของการคลอดควรฟังเสียงหัวใจทารกทุกๆ 5-10 นาที
ทารกที่ครบกำหนด มีศีรษะเป็นส่วนนำ
อัตราการเต้นของหวใจปกติ อยู่ระหว่าง 110-160 bpm
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารก
การคลำ
เพื่อประเมินคสพ.ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
ส่วนนำทารก ระดับของส่วนนำ ท่าและทรงของทารก
การคาดคะเนน้ำหนักของทารก (EFW=HF*AC)
ความสูงของยอดมดลูก
Fetal distress
ภาวะที่ทารกอยู่ในขั้นอันตราย จากการขาดออกซิเจนอยู๋ในครรภ์มารดา
FHS เร็วมากกว่า 160 bpm หรือ ช้ากว่า 110 pbm
มีขี้เถา
จังหวะการเต้นของหัวใจทารกไม่สม่ำเสมอ
การตรวจภายใน
วัตถุประสงค์
เพื่อวินิจฉัยว่าเข้าสู่ระยะการคลอด
วินิจฉัยท่าของทารกในครรภ์
วินิจฉัยท่าของทารกในคลอด
สภาพปากมดลูก
นุ่ม หรือแข็ง ยืดขายได้ง่าย หรือยาก บวมหรือไม่
การเปิดขยายของปากมดลูก (Cervical dilatation)
การเปรียบเทียบการขยายตัวของปากมดลูก
เปรียบเทียบจากเส่นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
เปรียบเทียบจากความกว้างของนิ้วมือ (Finger breadth)
ความบางของปากมดลูก
ความหนา 1 ซม Cervical effacement = 50%
ความหนา 0.5 ซม Cervical effacement = 75%
ความหนา 0.2-0.3 ซม Cervical effacement = 100%
ตรวจหาส่วนนำ
ดูว่าส่วนนำเป็นอะไร
ดูระดับของส่วนนำ
Plane เป็นการแบ่งระดับส่วนนำ
Mid plane ส่วนนำอยู่พอดี ischial spines
Low plane ส่วนนำอยู่ต่ำ ischial spines
High plane ส่วนนำอยู่เหนือ ischial spines
station เป็นการแบ่งระดับของส่วนนำ
ตรวจหาท่าของทารก (Position)
รอยต่อแสกกลาง (sagittal suture) ว่าอยู่ตำแหน่งใด
การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว (Bag og fore water)
การตรวจจะทำได้ง่าย เมื่อมีการหดรัดตัว ของกล้ามเนื้อมดลูกเพิ่มขึ้น
มี 3 ชนิด
Membrane intact (MI) ถุงน้ำยังอยู่
Membrane leakage (ML) ถุงน้ำแตกแล้ว
Membrane rupture (MR) ถุงน้ำคร่ำรั่ว
การคาดคะเนเวลาการคลอด
ครรภ์แรกปากมกลูกเปิด 1 cm/hr.
ครรภ์หลังปากมกลูกเปิด 1.5 cm/hr.
Partograph จะคิดชั่วโมงละ 1 CM
ข้อบ่งชี้และข้อห้ามในการตรวจภายใน
ข้อบ่งชี้
ผู้คลอดรายใหม่ทุกราย ยกเว้นมีข้อห้าม , อยู่ในระยะที่ 1 ,รายถุงน้ำทูนหัวแตกทันที , เจ็บครรภ์ถี่และรุนแรงขึ้น ,สงสัยว่าทารกในครรภ์อยู่ในท่าปกติ ,รายระยะของกาาคลอดล่าช้า
ข้อห้ามในการตรวจภายใน
ผู้คลอดที่มีประวัติเลือดออก ,ส่วนนำทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน ,มองเห็นทารกในครรภ์ ,ระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณทวารหนัก ,ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การเตรียมผู้คลอด
ทางด้านจิตใจ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของมารดา
อธิบายเกี่ยวกับการรับไว้เพื่อรอคลอด
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
ด้านร่างกาย
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สวนอุจจาระ ,ทำความสะอาดร่างกาย ,จขัดให้พักผ่อนในห้องรอคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจปัสสาวะ
ผลการตรวจพิเศษอื่นๆ
Ultrasonography
ผลการตรวจเลือด
VDRL
Hb
Hct
HBsAg
Anti-HIV
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
Latent phase
Duration 15-20 วินาที
Interval 10-15 นาที
Cx.lilate ไม่เกิน 3 cms .
Intensity mild +
Active phase
Acceleration phase
Cx.lilate ไม่เกิน 3-9 cms .
Duration 45-60 วินาที
Interval 3-5 นาที
Intensity moderate ++
Deceleration phase
Cx.lilate ไม่เกิน 9-10 cms .
Duration 60- 90 วินาที
Interval 2-3 นาที
Intensity moderate/strong +++
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก
การใช้เครื่อง electonic feto monitoring (EFM)
การประเมินโดยการใช้ฝ่ามือบนยอดมดลูก
interval
duration
Frequeancy
intensity
ถ้ามากกว่าปกติ คือ กล่้ามเนื้อมดลูกจะแข็งมาก
จะเจ็บปวดมากไม่สามารถสัมผัสหน้าท้องได้
ประเมินความผิดปกติอื่นร่วมด้วย
เช่น Bandl's ring
การเปิดขยายของความบางของปากมดลูก
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและการหมุนของศีรษะทารก
การเคลื่อนต่ำของทารก
ทารกจะเคลื่อนต่ำลงจะมีหมุนของศีรษะภายในตามกลไกตลอดปกติ
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารกจะเคลื่อนต่ำลง
ตำแหน่ง FHS
เลื่อนต่ำลงมาและเคลื่อนเข้าหาแนวกึ่งกลางลำตัว เมื่อส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมาถึงช่องออกเชิงกราน
บริเวณรอยต่อกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis )
มูก ,ถุงน้ำคร่ำ , อาการผู้คลอด
มูก
มีมูกมากขึ้น และลักษณะของมุกเปลี่ยนจากมูกเป็นมูกเลือด
ถุงน้ำคร่ำ
การแตกของถุงน้ำคร่ำ
อาการแสดงของผู้คลอด
ผู้คลอดจะกระสับกระส่ายมากขึ้น ควบคุมตนเองไม่ได้ และเจ็บปวดมาก
พบได้มากเมื่อการคลอดดำเนินมาถึงระยะย Transitional phase
หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
หลักการประเมินภาวะแทรกซ้อนระยะที่ 1
การคลอดยาวนาน การคลอดยาก
ความผิดปกติในการหดรัดตัวของมดลูก
สายสะดือย้อย
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้น
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
การเต้นของหัวใจทารก
normal 110-160 bpm
ควรฟังเสียงทารกเต็ม 1 นาที
ควรฟังภายหลังมดลูกคลายตัวประมาณ 20-30 วินาที
เสี่ยงต่ำ ในระยะ latent ควรฟังทุก 1 ชม.
เสี่ยงสูง ในระยะ latent ควรฟังทุก 30 นาที
ถุงน้ำคร่ำแตก ควรฟังเสียงหัวใจทารกทันที
ลักษณะน้ำคร่ำ
Normal ใส สีเหลืองจางๆ คล้ายสีฟองข้าว
ถ้าแตกแล้วมีขี้เทาปน อาจะบ่งบอกถึง fetal distress
C M A B
C Clear
M Meconium มีขี้เทาปน
Moderate สีเขียวปนเหลือง
Thick สีเขียวข้นมาก
mild น้ำคร่ำมีสีเหลืองหรือสีเขียวจางๆ
A Absent
B Blood stained (น้ำคร่ำปนเลือด)
การดิ้นของทารกในครรภ์
NOrmal 10 ครั้งในช่วง 12 ชั่วโมง
การที่เด็กดิ้นน้อยลง อาจจะเป็นเพราะเด็กได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์
วิเคราะห์เลือดจากหนังศีรษะทารกในครรภ์
pH ควรอยู๋ระหว่าง 7.20-7.45
การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกโดยใช้ EFM
บทบาทพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
Non- pharmacological tech
ประคับประคองทางด้านจิตใจ
สามี/ญาติ ดูแล
พยาบาลอยู๋เป็นเพื่อน เข้าใจถึงความต้องการของผู้คลอด
ให้ข้อมูล ให้ความรู้
ผล PV
บรรเทาอาการเจ็บครรภ์
การคลอด
ความก้าวหน้าของการคลอด
Dick-read Lamaze Bladley
ลดสิ่งกระตุ้น/จัดสิ่งแวดล้อม
เบี่ยงเบนความสนใจ
เพ่งจุดสนใจ
ฺBladley เสียง การสัมผัส
Lamaze สิ่งของ
ฟังดนตรี (music therapy)
การชวนคุย (Support)
จินตนาการ
ปากมดลูกเปิด 1-4 ซม ให้เดินคุย หรืออ่านหนังสือ
ปากมดลูกเปิด 4-8 ซม ให้จิตใจจดจ่อ นับลมหายใจ
ปากมดลูกเปิด 8-10 ซม แนะนำให้หายใจลึกๆ
การถู/นวด/ลูบ
ประเมินความต้องการของผู้ป่วยก่อน
เป็นการกระตุ้นใยประสาทขนาดใหญ่
ถูนวดกระเบนเหน็บ
ลูบที่หน้าท้อง (Effleurage)
massage
เพิ่มการไหลเวียนเลือด
Birthing ball
nipple massage
เพิ่มสารอาหารและออกซิเจนในบริเวณนั้น
ระดับเอนดอร์ฟินเพิ่มขึ้น
ประคบร้อน/เย็น /Hydrotherapy/Aquatic
Position change during labor
contour
sitting
Kneeling
squatting
Lie down
การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
การสัมผัส
การกดจุด
ปรับพลังงานให้กลับสู่สมดุล
นวดฝ่าเท้า เพื่อสลายการอุดตันตารมอวัยวะต่างๆ
Relaxation techniques
การเกร็ง คลายกล้ามเนื้อ
กายหายใจ
ควรหายใจล้างปอด (cleaning breath)
การหายใจเข้าออกควรเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
หากหายใจเร็วและลึกจนเกินไป อาจะเกิด Hyperventilation
Yoga
การสะกดจิต (Hypnosis)
pharmacological pain management
การดูแลทางด้านจิตใจ
meeting the informational need
Promoting of comfort and relaxation
Developing trust and security
Support role of nurse
การป้องกันอันตรายต่อสุขภาพหญิงในระยะที่ 1 ของการคลอด
ผู้คลอดอยู่ในภาวะอันตราย
Maternal exhaustion
Emotional distress
Hypertonicity
ทารกอยู่ในภาวะเครียด (Fetal distress)
FHS < 120, > 160 ครั้ง/นาที
ความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า
ระยะ Latent phase ถ้าใช้เวลาเกินกว่า 20 ชม.ในระยะแรก และเกินกว่า 15 ชม. ในระยะหลัง ถือวาระยะ latent phase ยาวนาน
ระยะ Active phase ปกติปากมดลูกเปิด 1.2 ซม./ชม. ในครรภ์แรก และ 1.5 ชม/ชม ในครรภ์หลัง ถือว่าอยู่ในระยะปกติ แต่ถ้าช้าถือว่า ระยะ Active phase ช้ากว่าปกติ