Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 การวิจัยแบบผสมผสาน ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 12
การวิจัยแบบผสมผสาน
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับ
การวิจัยแบบผสมผสาน
ความสำคัญ,ลักษณะสำคัญ
ประเภท,ข้อดี และข้อควรคำนึง
ประเภทงานวิจัย
การวิจัยแบบผสมผสาน
การวิจัยแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
ข้อดี
เพิ่มความเชื่อมั่น
เสริมให้สมบูรณ์
พึ่งพาวิธีการซึ่งกัน
การค้นหาประเด็นที่ผิด
ผลวิจัยสามารถเสริมต่อกัน
ผลวิจัยวิธีหนึ่งไปช่วยพัฒนางานวิจัยหนึ่ง
นำผลผลิตแบบผสมผสานมาสร้างความสมบูรณ์
กระบวนการวิจัย
แบบผสมผสาน
ขั้นที่ 1 : พิจารณาความเหมาะสมของการใช้งานวิจัย
ขั้นที่ 2 : พิจารณาจุดมุ่งหมายของการออกแบบ
ขั้นที่ 3 : การออกแบบการวิจัย
ขั้นที่ 4 : เก็บรวบรวมข้อมูลตามกระบวนการวิจัย
ขั้นที่ 5 : วิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นที่ 6 : ยืนยันความน่าเชื่อถือ
ขั้นที่ 7 : ตีความข้อมูลที่ได้รับ
ขั้นที่ 8 : เขียนรายงานการวืิจัย
ความเป็นมา,กระบวนทัศน์
ความหมาย.และจุดมุ่งหมาย
กระบวนทัศน์
ภววิทยา
ญาณวิทยา
วิธีวิทยา
ความหมาย
วิจัยด้วยการใช้เทคนิควิธีการเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพมาร่วมกัน
เริ่ม 1959 โดย Camphell and Fiske
เป็นวิธีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณหลากหลาย
วิธีในการศึกษาเดียวกัน
การวิจัยแบบผสมผสาน
สามเส้าในการส่งเสริมฯ
การวิจัยแบบแผนสามเส้า
รูปแบบพหุระดับ มรการส่งเสริมฯ
ใช้วิธีวิจัยแตกต่างกัน/ทำการเก็บข้อมูลประเด็นเดียวกัน
ผู้เก็บข้อมูลลดหลั่นตามระดับต่างๆของการปฏิบัติงาน
การวิจัยแบบแผนสามเส้า
รูปแบบแปลงข้อมูล
ใช่แง่วิธีการทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพแยกจากกัน
ในการเก็บข้อมูลแต่วิเคราะห์จะแปลงข้อมูลไปสู่การวิจัยหนึ่ง
และวิเคราะห์ทั้ง 2 ชุดใหม่ เพื่อเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์
การวิจัยแบบแผนสามเส้ารูปแบบ
การตรวจสอบความตรง
เป็นการดำเนินงานวิจัยใช้ทั้งปริมาณและคุณภาพ
เชิงปริมาณ(ใช้แบบสำรวจ, แบบสอบถาม,แบบสัมภาษณ์
เชิงคุณภาพ (ใช้เป็นคำถามปลายเปิด)
การวิจัยแบบแผนสามเส้า
รูปแบบลู่เข้า
ใช้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ในการหาคำตอบในเรื่องเดียวกันพร้อมกัน
แต่แยกการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์นำผลมาเปรียบเทียบกัน
การวิจัยแบบผสมผสาน
แบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
แบบขั้นตอนเชิงสำรวจ
การวิจัยแบบผสมผสาน
แบบขั้นตอนเชิงสำรวจ
เริ่มที่วิจัยเชิงคุณภาพก่อน
ตามด้วยเชิงปริมาณ
รูปแบบการพัฒนาเครืองมือ
รูปแบบการพัฒนาสารบบ
การวิจัยแบบผสมผสาน
แบบรองรับภายในการส่งเสริม
2 ระยะต่อเนื่องเลือกวิธีใดก่อนก็ได้
เน้นศึกษาหาคำตอบต่างประเด็น
ในระยะเวลาเดียวกัน/ต่อเนื่องกัน
การวิจัยแบบผสมผสาน
แบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
แบบแผนวิจัย 2 ระยะ
จากระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ
ก่อนตามด้วยเชิงคุณภาพ
แบบเชิงรูปแบบอธิบายติดตาม
เชิงอธิบายรูปแบบการเลือก
ผู้เข้าร่วมการวิจัย
นางสาวสุดลาภา เทพทอง รหัสนักศึกษา 2649002405