Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงปริมาณในการ ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 13
การวิจัยเชิงปริมาณในการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แผนแบบและกระบวนการ
วิจัยเชิงประเมิน
แผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้
แผนการทดลอง
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้
แผนแบบไม่ทดลอง
กระบวนการวิจัย
เชิงประเมินในการส่งเสริมฯ
ศึกษารายละเอียดของแผน
ระบุหลักการเหตุผล
กำหนดวัตถุประสงค์
กำหนดกรอบแนวคิด
กำหนดตัวชี้วัด
กำหนดวิธีการ
ประมวลผล/วิเคราะห์
การดำเนินการวิจัย
เชิงประเมินในการส่งเสริมฯ
การเก็บรวบรวมและ
วิเคราะห์ในการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับวัตถุประสงค์
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับกรอบ
แนวคิดการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับเทคนิค
การวิเคราะห์ข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับ
การรายงานผล
การเขียนรายงานผล
การปฏิบัติเชิงประเมิน
ในการส่งเสริมฯ
สาระสำคัญที่ต้องกล่าวถึงในรายงาน
ความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ความสามารถในการบริหารจัดการแผน
ประสิทธิภาพของการบริหารแผน
ประเภทรายงาน
ฉบับผู้บริหาร
ฉบับวิชาการ
แนวคิดเกี่ยวกับ
การประเมินในการส่งเสริมฯ
ประเภทของการประเมิน
ในการส่งเสริมฯ
การประเมินก่อนดำเนินแผน/โครงการ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้วางแผน
การประเมินระหว่างดำเนินแผน/โครงการ
เพื่อศึกษาความก้าวหน้าตามแผนและปัญหา
การประเมินเมื่อสิ้นสุดแผนเพื่อ
ตรวจสอบความสำเร็จ
รูปแบบการประเมิน
ในการส่งเสริม
รูปแบบของไทเลอร์ กำหนดวัตถุประสงค์/แผน
ให้อยู่ในรูปแบบเชิงพฤติกรรม
รูปแบบของครอนบาค
เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อตัดสินใจ
แบบวัดความสำเร็จแบบสมดุล
กำหนดความสมดุลของปัจจัยหลักความสำเร็จ
ความหมาย,ความสำคัญ
ขอบเขตของการประเมิน
ความหมาย
กระบวนการตัดสินคุณค่าอย่างเป็นระบบ
อาศัยข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อถือได้
เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
ความสำคัญ
ช่วยให้ได้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสภาวการณ์ต่างๆ,
ความก้าวหน้า, ความสำเร็จ, ผลกระทบ
การประเมินผล ช่วยชี้แจงข้อโต้แย้ง
ทราบปัญหา ชี้ให้เห็นประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดในการวิจัย
เชิงประเมินในการส่งเสริมฯ
ลักษณะของค่าตัวชี้วัด
ในการวิจัยเชิงประเมิน
ตัวชี้วัดที่เป็นจำนวน มีตัวแสดงจำนวน
เช่น จำนวนครัวเรือนที่ยากจน
ตัวชี้วัด = x เช่น x รายได้ต่อครัวเรือน
ตัวชี้วัด = สัดส่วน เช่น จากการคำนวนตัวแปร 2 ตัว
แนวคิดเกี่ยวกับตัวชี้วัด
ในการวิจัยเชิงประเมิน
ในการส่งเสริมฯ
เป็นเครื่องมือในการบริหารงานแผนโครงการ
หรือบริหารองค์กรในทุกระดับ ทั้งรัฐ เอกชน
เครื่องชี้บ่งความก้าวหน้าและความสำเร็จ
การจัดทำตัวชี้วัด
ในการวิจัยเชิงปริมาณ
เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของแผน
นำตัวชีวัดมาวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ
เพื่อติดตาม/ประเมินผลแผน
กำหนดตัวชี้วัดให้ครอบคลุมทุกประเด็น
นางสาวสุดลาภา เทพทอง รหัสนักศึกษา 2649002405