Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PART II CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE - Coggle Diagram
PART II CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE
ARTERIAL OCCLUSION
หลอดเลือดแดงตีบแข็งเนื่องจากไขมันสะสม ทำให้เลือด
ไหลไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายที่ต่ำกว่าบริเวณอุดตันลดลง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
•DM, HT, Lipidemia
•อ้วน
•สูงอายุ
•อาหารไขมัน
•กรรมพันธุ์
อาการแสดง
•คลำชีพจรไม่ได้
ผิวหนังซีด เย็น ปวด ชา ตะคริว
อ่อนแรง ฟังเสียงฟู่
มักมีอาการปวดขาเมื่อเดิน เรียกว่า Intermittent Claudication
การตรวจพิเศษ
•ankle-brachial index: ABI
•Duplex ultrasound scanning
•Arteriography
การรักษา
•ปรับพฤติกรรมเสี่ยง
•การขยายหลอดเลือด(percutaneuous transluminal angioplasty: PTA)
•ยา
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัด
นอนท่าศีรษะสูงประมาณ 6 นิ้ว ปลายเท้าต่ำกว่าหัวใจ
ควบคุมอาหาร หลีกเลี่ยงหวาน มัน เค็ม
การดูแลแผลขาดเลือด ท าความสะอาดด้วย NSS และน้ำยา
การให้คำแนะนำเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือด
หลีกเลี่ยงการยืนท่าเดียวนานๆ
หลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง หรือกดบริเวณหัวเข่า
ยกขาสูงกว่าหัวใจเมื่อมีอาการบวม
•Record Vital Sign, I/O
•ยกขาสูงเพื่อลดบวม
•ตรวจการรับความรู้สึกและการท างาน
ของกล้ามเนื้อแขนขา
AORTIC ANEURYSM
•ภาวะความผิดปกติที่หลอดเลือดแดงใหญ่มีขนาดโตขึ้น
ผนังหลอดเลือด
บาง ปริและรั่วซึมได้ทำให้มีเลือดคั่งในช่องอกหรือช่องท้อง
ปัจจัยเสี่ยง
•อายุมาก
•ความดันโลหิตสูง
•ภาวะไขมันในเลือดสูง
•โรคถุงลมโป่งพอง
•การสูบบุหรี่
อาการแสดง
มักไม่มีอาการ / พบโดยบังเอิญจาก Chest X-ray, U/S หรือ CT Scan
คลำพบก้อนในช่องท้องที่เต้นได้ตามจังหวะหัวใจ
การรักษา
•การคุมความดันโลหิต
•คุมระดับไขมันในเลือด
•การผ่าตัดOpen Surgery
•การผ่าตัดโดยใส่หลอดเลือดเทียมชนิดหุ้มด้วยขดลวด
(Stent Graft)
HYPERTENSION
ปัจจัยเสี่ยง
ขาดการออกกำลังกาย
การสูบบุหรี่
พันธุกรรม
•รับประทานอาหารเค็ม
•โรคเบาหวาน โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการ
ปวดมึนท้ายทอย ตึงต้นคอ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น
มือเท้าชา
อัมพ่ตหรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
ภาวะแทรกซ้อน
•ภาวะหัวใจล้มเหลว
•หลอดเลือดสมองแตก
•อัมพาต
การรักษา
การรักษาแบบใช้ยา
ควรรับประทานยาตามแพทย์สั่ง
ไม่ควรหยุดยาหรือปรับเปลี่ยนยาด้วยตัวเอง
การรักษาแบบไม่ใช้ยา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด าเนินชีวิตให้เหมาะสม
DEEP VEIN THROMBOSIS
Deep Vein Thrombosis: DVT
•ภาวะที่มีลิ่มเลือดก่อตัวที่หลอดเลือดดำส่วนลึกในร่างกายโดยอาจเกิดขึ้นที่ตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
Venous Thromboembolism: VTE
•ภาวะที่มีลิ่มเลือดก่อตัวขึ้น โดยมากจะเป็นที่หลอดเลือดดำลึกที่ขา
Pulmonary Embolism: PE
•ภาวะที่หลอดเลือดบริเวณปอดเกิดการอุดกั้น ส่วนใหญ่มักเกิดจากลิ่มเลือดที่อุดตันบริเวณหลอดเลือดขาหลุดไปอุดกั้นหลอดเลือดปอด
สาเหตุ
•เลือดไหวเวียนช้า
•เส้นเลือดได้รับบาดเจ็บ
•การจับตัวของเลือดในหลอดเลือด
•ปัญหาการแข็งตัวของเลือด
การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การวางตะแกรงกรองลิ่มเลือด (Filters)
THROMBOPHLEBITIS
การอักเสบของหลอดเลือดดำ ลักษณะบวมแดง กดเจ็บ ร่วมกับมี blood clot บริเวณ
หลอดเลือดดำชั้นไม่ลึก
สาเหตุ
(เส้นเลือดขอด)
(ตั้งครรภ์)
(ได้รับการรักษาด้วยฮอร์โมน)
(สูบบุหรี่)
(การแข็งตัวของเลือดผิดปกติมาแต่ก าเนิด)
(อ้วน) สูงอายุ
การรักษา
(ยกสูงในส่วนของแขนขาที่เป็น)
(ลดบวมด้วยยาที่ไม่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์)
(เพื่อบรรเทาอาการด้วยการประคบอุ่นบริเวณที่เป็น)
(การเอา blood clot ออก)
VARICOSE VEIN
•เกิดจากการมีเลือดดำคั่งอยู่ในเส้นเลือดดำ
พยาธิสภาพ
•ลิ้นในหลอดเลือดถ้าลิ้นเหล่านี้เกิดเสื่อมประสิทธิภาพ การไหลเวียนของเลือดดำก็จะเสียไป ก่อให้เกิดเลือดดำคั่งในเส้นเลือดดำที่ขาอย่างเรื้อรัง
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ
เพศ หญิงเป็นโรคมากกว่าผู้ชายประมาณ 3 เท่า
พันธุกรรมและเชื้อชาติ
อาชีพ
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
อาการ
ปวดอยืนหรือนั่งนาน
มีจุดกดปวด ตึง ที่กลามเนื้อขา
ปวด บวมมากในตอนเย็นของวัน
ภาวะแทรกซ้อน
•เกิดแผลบริเวณขาและเท้าได้ง่ายแผลหายช้าจากการไหลเวียนเลือดไม่ดี
•เส้นเลือดขอดเรื้อรัง สีของเท้าจะคล้ำแดงขึ้นหรือด าคล้ำจากการคั่งของเลือด
การรักษา
•Conservative treatment
การฉีดยาเข้าเส้นเลือดขอดเพื่อให้เส้นเลือดตีบตัน
การรักษาเส้นเลือดขอดด้วยเลเซอร์
การรักษาด้วยยา
ยากลุ่ม Diosmin และ Hesperidin ยับยั้งกระบวนการอักเสบและท าให้ลิ้นใน
หลอดเลือดกลับมาเป็นปกติได้