Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE, นางสาว มณฑิตา กล่อมสงค์ รหัส…
CARDIOVASCULAR DISEASE
& NURSING CARE
Pulmonary Embolism: PE
*ภาวะที่หลอดเลือดบริเวณปอดเกิดการอุดกั้น ส่วนใหญ่มักเกิดจากลิ่มเลือดที่อุดตันบริเวณหลอดเลือดขาหลดไปอุดกั้นหลอดเลือดปอด
สาเหตุ
การจับตัวของเลือดในหลอดเลือด
*เส้นเลือดได้รับบาดเจ็บ
เลือดไหลเวียนช้าโดยมากมักเกิดจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกายเท่าที่ควร
การรักษา
การวางตะแกรงกรองลิ่มเลือด (Filters) ในหลอดเลือดตำใหญ่บริเวณหน้าท้อง (Vena Cava) เพื่อป้องกันลิ่มเลือดหลุดจากหลอดเลือดดำไปฉุดกั้ นหลอดเลือดแดงในปอด
การผ่าตัด เอาลิ่มเลือดที่อุดตันออกหากมีลิ่มเลือดขนาดใหญ่หรือมีอาการร้ายแรง ทำลาย เนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียง
การรักษาโดยการใช้ยา ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulants เพื่อลดการจับตัว) กันของเลือดเป็นลิ่มเลือด
THROMBOPHLEBITIS
การอักเสบของหลอดเลือดด ๆ ลักษณะบวมแดง กดเจ็ม ร่วมกับมี blood clot บริเวณ หลอดเลือดด ๆชั้นไม่ลึก
HYPERTENSION
ปัจจัยเสี่ยง
พันธุ์กรรม
อายุ
การสูบบุหรี่
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ไตวาย
*หลอดเลือดสมองแตก
*หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
Primary Hypertension ชนิดไมมีสาเหตุ
มักไม่มีอาการพบร้อยละ 90
Secondary Hypertension ชนิดที่มีสาเหตุ พบร้อยละ 10 สาเหตุที่พบบ่อย คือ ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลั่ม(Obstructive sleep apnea)
VARICOSE VEIN
ภาวะแทรกซ้อน
เส้นเลือดขอดเรื้อรังสีของเท้าจะคดแดงขึ้นหรือด
ๆคลั จากการคั่งของเลือด
*เกิดแผลบริเวณชาและเท้าได้ง่ายแผลหายชำจากการไหลเวียนเลือดไม่ดี
อุบัติเหตุถูกของมีคมตรงเส้นเลือดขอด
เกิดแผลเลือดออกรุนแรงได้
ปัจจัยเสี่ยง
เพศ หญิงเป็นโรคมากกว่าผู้ชายประมาณ 3 เท่า
ㆍคนอ้วนหรือผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน
อายุ
อาชีพ
*เกิดจากการมีเลือดต่ำดั่งอยู่ในเส้นเลือดตำส่งผลให้เส้นเลือดตำขยายตัว โป่งพอง ขตไปมาเกิดกับเส้นเลือดต ๆได้ทั่วร่างกาย
ARTERIAL OCCLUSION
หลอุดเลือดแดงตึบแข็งเนื่องจากไขมันสะสม ทำให้เลือดไหลไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายที่ต่ำๆกว่าบริเวณอุดตันลดลง
การตรวจพิเศษ
*Duplex ultrasound scanning
*ankle-brachial index: ABI
*Arteriography
การพยาบาล ก่อน-หลังผ่าตัด
ควบคุมอาหาร
ออกกำลังกาย
งดสูบบุหรี่
*การดูแลแผลขาดเลือด
*นอนท่าศีรษะสูงประมาณ 6 นิ้ว ปลายเท้าต่ำกว่าหัวใจ
*การให้คำแนะนำเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือด
*Record Vital Sign, 1O
*คลำชีพจรบริเวณข้อมือหรือข้อเท้า
*ยกขาสูงเพื่อลดบวม
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
อาหารไขมัน
กรรมพันธุ์
สูบบุหรี่จัด
ㆍDM, HT, Lipidemia
อาการแสดง
คลำชีพจรไม่ได้ ผิวหนังขีด เย็น ปวด ชา ตะคริว อ่อนแรง
ฟังเสียงฟู่ (bruits) บริเวณหลอดเลือดที่มีการอุดตันเพราะมีการไหลวนของเลือด มักมีอาการปวดขาเมื่อเดิน เรียกว่า Intermittent Claudication
การรักษา
*ปรับพฤติกรรมเสี่ยง
การผ่าตัด
ยา
การขยายหลอดเลือด
AORTIC ANEURYSM
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมาก
การสูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง
ภาวะไขมันในเลือดสูง
อาการแสดง
มักไม่มีอาการ / พบโดยบังเอิญจาก Chest X-ray,
U/S หรือ CT Scan เพื่อตรวจโรคอื่น
*คลำพบก้อนในช่องท้องที่เต้นได้ตามจังหวะหัวใจ
อาการเกิดจากที่หลอดเลือดขนาดใหญ่ไปกดเบียดอวัยวะข้างเคียง
การรักษา
คุมระดับไขมันในเลือด
การควบคุมความดันโลหิต
หยุดสูบบุหรี่
การผ่าตัด Open Surgery
ภาวะความผิดปกติที่หลอดเลือดแดงใหญ่มีขนาดโตขึ้นผนังหลอดเลือดบาางปริมและรั่วซึมได้ทำให้มีเลือดคั่งในช่องอกหรือช่องท้องโอกาสที่หลอดเลือดจะแดกสัมพันธ์กับขนาดที่โตถ้าเส้นเลือดที่โป่งพองแตกออกอาจเสียชีวิต
นางสาว มณฑิตา กล่อมสงค์
รหัส 6301110801102