Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE - Coggle Diagram
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE
EKG INTERPRETATION
NORMAL SINUS RHYTHM (NSR)
Repolarization การคลายตัวของหัวใจ
ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์ ได้แก่ K กลับสู่เซลล์ Na กลับออกนอกเซลล์
Depolarization การบีบตัวของหัวใจ
ประจุไฟฟ้าภายนอก ได้แก่ Na แลกเปลี่ยนกับประจุไฟฟ้าภายในเซลล์ ได้แก่ K
ABNORMAL EKG
ภาวะ hypokalemia
EKG shows a long QT interval, ST depression low T waves and TU fusion
การรักษา
ทดแทน K+ ทางยาและอาหารให้ทางปากถ้ารับประทานยาได้
ให้ทาง IV ขนาดสูงสุด Infusion pump ไม่ควรเกิน 10 mEq/hr
ภาวะ hyperkalemia
EKG shows bradycardia และ tall peaked (tented) T waves
อาจนำไปสู่การเกิด renal insufficiency, metabolic acidosis, asystole
รายงานแพทย์ทันที
การรักษา
C-BIG-K-Drop,Dialysis
ขับออกทางเดินอาหารด้วย Kayexalate ขับออกทางไตด้วย Furosemide
ข้อควรระวัง
Electrolytes lmbalance
STEMI
พบ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads
เกิด Leftbundle branch block (LBBB)
มักพบ Troponin/CK-MB สูง
เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเเบบเฉียบพลัน
NSTEMI
คลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression
T wave inversion ร่วมด้วย Cardiac enzyme
Troponin/CK-MB สูง
ที่พบบ่อย
Bradycardia
Tachycardia
Atrial Fibrllation (AF)
Hypercalcemia
EKG show shorten QT interval
การรักษา
การทำงานของไตดี ให้ phosphate ทางปาก ไตวาย-ล้างไต
หากเกิดอาการรุนแรง ให้ NSS จำนวนมากเพื่อขับแคลเซียมออก อาจให้ corticosteroids และ calcitonin (Miacalcin)
Hypocalcemia
EKG show prolonged QT interval
การรักษา
ระยะเรื้อรังและผู้มีแคลเซียมต่ำกว่า 7.3 mg/dl. ให้ oral calcium replacement, vitamin D, vitamin D analog ถ้า asymptomatic ไม่ต้องรีบรักษา
INFECTIVE ENDOCARDITIS
พยาธิสภาพ
damaged endothelium มี platelet & fibrin เกาะเกิด thrombus ต่อมามี bacteremia จากสาเหตุใดก็ตาม bacteria จะมาเกาะเกิด infected vegetation
อาการ
ปวดกล้ามเนื้อปวดหลัง ปวดตามข้อ มี murmur, sepsis CHF, embolism ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
มีไข้ ไข้สูง หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
การรักษา
Medical treatment (Proper antibiotic, Support treatment)
Surgical treatment
CARDIAC TAMPONADE
ภาวะแทรกซ้อน
เส้นเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด
น้ำท่วมปอด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
เกิดความเสียหายบริเวณเส้นเลือด
สาเหตุ
ทำการฉายรังสีบริเวณหน้าอก
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลว
มีบาดเเผลบริเวณหัวใจ หรือได้รับบาดเจ็บจากการกระแทก
ภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อเเบคทีเรียหรือเชื้อไวรัส
ภาวะที่มีของเหลวปริมาณมากอยู่ในถุงเยื่อหุ้มหัวใจทำให้มีการเพิ่มขึ้นของแรงดันในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ และกดเบียดหัวใจ
การรักษา
การตัดเยื่อบุหัวใจเพื่อลดแรงดันภายในหัวใจ
การเจาะดูดเอาของเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ผ่าตัดเปิดช่องทรวงอกเพื่อถ่ายเทเลือดหรือเอาลิ่มเลือดอุดตันออก
ANTICOAGULANT DRUGS
การพยาบาล
Antidote ให้ฉีด Protamine sulfate ช้าๆ
ห้ามให้ยา Heparin ร่วมกับยา Amikacin, Amiodarone, Amphotericin B, Atracurium, Ciprofloxacin, Dobutamine
WARFARIN
หากลืมกินยาไม่เกิน 12 hr ให้กินทันที ถ้าเกิน 12 hr ให้ข้ามไป
ระวังการเกิดอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บที่ก่อให้เกิดบาดเเผล
ตรวจผล INR ทุก 1-3 เดือน หรือตามแพทย์สั่ง
สังเกตอาการเลือดออกผิดปกติ และลิ่มเลือดอุดตันจากอวัยวะทุกระบบ
ออกฤทธิ์ต้านการแข็งตัวของเลือดป้องกันลิ่มเลือดอุดตันตามเสีนเลือดร่างกาย
เป็นกลุ่มยา High Alert Drug
ออกฤทธิ์ต้านการแข็งตัวของเลือด
1.Heparin (Unfractionated)
2.Heparin,Low Molecular Weight (Innohep/Tinzaparin)
3.Heparin, Low Molecular Weight (Clexane /Enoxaparin)
4.Heparin, Low Molecular Weight (Arixtra/Fondaparinux)
VALVULAR HEART DISEASE
สาเหตุ
โรคลิ้นหัวใจตีบ
โรคลิ้นหัวใจรั่ว
การรักษา
Percutaneous balloon mitral valvulomy
Medical treatment
antibiotic
anticoagulant
Surgical treatment
อาการ
หน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอก (เกิดร่วมกับ CAD)
พยาธิสภาพ
เกิดพังผืดจากแคลเซียม หรือไขมันเกาะลิ้น/ส่วนประกอบลิ้น
HEART FAILURE
การรักษา
ยาเพิ่มความสามารถในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การใส่ Pacemaker ช่วยลดภาระการทำงานของหัวใจ
การผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
อาการ
น้ำคั่งในปอด
บวมน้ำ
เหนื่อยล้าและเวียนศีรษะ
หัวใจเต้นผิดปกติ และถี่เกินไป
กระตุ้นระดับความเครียด
สาเหตุ
พันธุกรรม
โรคหลอดเลือดหัวใจ
หัวใจวาย
โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม
พยาธิสภาพ
สมรรถภาพการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง เพิ่มการกระตุ้นผนังหัวใจ กระตุ้น RAAS และระบบประสาท sympathetic ส่งผลให้ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแอลงไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้
เกิดพังผืด มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด เซลล์ และโมเลกุล เซลล์ตาย กล้ามเนื้อหัวใจหนา กล้ามเนื้อหัวใจเป็นพิษ
CORONARY ARTERY DISEASE
ปัจจัย
กรรมพันธุ์
DM, HT, Lipidemia
สูบบุหรี่จัด
สูงอายุ
พยาธิสภาพ
มีความผิดปกติของเซลล์บุผนังด้านในของหลอดเลือดแดง Coronary ไขมันสะสม หลอดเลือดอักเสบจนแข็งและหนาตัวและเกิดการอุดตัน
อาการ
มีอาการเจ็บลึกๆ หรือปวดแน่นตรงกลางหน้าอก (Angina prctoris)
การรักษา
ยา
Aspirin (เคี้ยวแล้วกลืน), ยา กลุ่ม Nitrate (อมใต้ลิ้นหรือ spray พ่นซ้ำนาที 3 ครั้ง
Morphine (2-4 mg. IV. ซ้ำได้ทุก 5-15 นาที)
ให้ O2 ถ้า SpO2 < 90%
การผ่าตัด
Percutaneous Balloon Angioplasty (PTCA)
Coronary Artery Bypass Grafting (CABG)
PERMANENT PACEMAKER
PACEMAKER
เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ส่งสัญญาณไฟฟ้าเพื่อกระตุ้น/แก้ไขจังหวะการ
การดูแล
หลีกเลี่ยงการกระแทกบริเวณที่ฝั่งเครื่อง
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำก่อนถึงวันนัดเปิดแผล
ไม่ควรยกแขนเหนือไหล่ 14 วัน
คล้องแขนข้างที่ทำประมาณ 48 ชั่วโมง
Single chamber
ใส่สายถาวร 1 เส้นบริเวณหัวใจห้องล่างขวา
Dual chamber
ใส่สายถาวร 2 เส้น บริเวณหัวใจห้องบนและล่างขวา
Cardiac Resynchronization Therapy : CRT
ใส่สายถาวร 2 เส้น และเพิ่มอีก 1 เส้น ห้องล่างซ้าย เพื่อให้ 2 ห้องล่างบีบตัวสัมพันธ์กัน