Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Problem-based Learning GDM, อนงค์ ขลุ่ยนาค รหัสประจำตัว 63019953 - Coggle…
Problem-based Learning GDM
Step 3: Brainstorm
Priority for mom
Preeclampsia: sign >> High BP , พบโปรตีนรั่วในปัสสาวะ,ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นใต้ลิ้นปี่
Eclampsia: sign >> High BP , พบโปรตีนรั่วในปัสสาวะ,อาการบวมที่เท้า มือ และหน้า Up to2+ รุนแรงมีอาการชักร่วมด้วย
Insulin Shock: sign >> คลื่นไส้ อาเจียน เกิดจากการต้านของอินซูลินโดยฮอร์โมนจากรก คือ HCG,HPL และ Progesterone,Estrogens,Cortisol,Oxytocin
Priority for Baby
Preterm: sign >> ภาวะหายใจลําบาก (RDS) ทารกหายใจเหนื่อย หอบ ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการพบฝ้าขาวที่ปอด ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง Wheezing
Fetal distress: sign >> FHS มากกว่า 160 bpm หรือน้อยกว่า 100 bpm ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
Step 1: Clarifying unfamiliar terms
Root Cause:
ตับ >> กำจัดสารพิษในร่างกาย หรือปรับสารพิษให้กลับมาเป็นปกติ
ตับอ่อน >> Beta cell ของ islets of Langerhans ยับยั้งหรือเพิ่มการหลั่งอินซูลิน
รก >> ทำลายอินซูลินจากฮอร์โมนรกได้แก่ HCG,HPL และฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ต้านอินซูลินอื่น ๆ ได้แก่ Progesterone,Estrogens,Cortisol,Oxytocin
ต่อมหมวกไต >> ต่อมหมวกไของทารกจะผลิต Cortisol เพิ่มขึ้น ทำให้เนื้อเยื่อตอบสนองต่ออินซูลินลดลงหรือทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เป็นผลให้หญิงตั้งครรภ์มีระดับน้ำตาลต่ำ มีไขมันสะสมมาก เพิ่มความอยากอาหาร
ระบบประสาท >> Parasympathetic >> Medulla oblongata N3 7 9 และ 10>> มีผลต่ออินซูลินหรือ Insulin center
Step 2: Problem definition
ผลต่อมารดา:
ผลกระทบทางด้านจิตใจ >> หญิงตั้งครรภ์จะมีความวิตกกังวลและความกลัวที่จะเกิดต่อตนเองและบุตร กลัวว่าบุตรจะพิการหรือเสียชีวิต
การแท้งบุตร (Abortion) >> มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดที่เลี้ยงอวัยวะอุ้งเชิงกรานและไต หลอดเลือดในมดลูกตีบแข็ง ทารกขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้เกิดการแท้ง
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง >> มีการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ต้านอินซูลิน ทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินมีผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ >> หญิงตั้งครรภ์ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ทำให้มีภาวะความดันโลหิตสูงร่วมด้วยเสมอ
การคลอดยาก (dystocia) >> เป็นผลมาจากทารกมีขนาดใหญ่ มีโอกาสไหล่ติดขณะคลอดได้สูง
การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage) >> เกิดจากมดลูกมีการยืดขยายมากระหว่างตั้งครรภ์เพราะทารกมีขนาดใหญ่ ทำให้ภายหลังการคลอดกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผลต่อทารก:
รกเสื่อม >> ถ้ามารดาเป็นเบาหวานรุนแรง ทำให้มีการเสื่อมสภาพของหลอดเลือด
ทารกในครรภ์ขาดอาหารและออกซิเจน >> ทารกมีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ ตายในครรภ์ (DFIU)
ความพิการของระบบประสาท >> พบความผิดปกติของหลอดประสาทไม่ปิด (Neural tube defect) เช่น hydrocephalus , Anencephaly, Spina bifida ปากแหว่ง เพดานโหว่ (Cleft lip Cleft palate)
ทารกคลอดก่อนกำหนด >> เกิดจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด หรือจากการพิจารณาให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) >> เนื่องจากภายหลังคลอดทารกไม่ได้รับน้ำตาลจากมารดาอีก แต่อินซูลินของทารกที่เคยผลิตเมื่ออยู่ในครรภ์มารดายังมีอินซูลินมาก จึงทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ทารกตายระหว่างคลอดและหลังคลอด >> หายใจลำบาก (RDS) >>เนื่องจากการคลอดก่อนกำหนด ปอดยังเจริญไม่เต็มที่ ทำให้ทารกแรกเกิดมีปัญหาการหายใจ
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia) >> มักพบในทารกคลอดก่อนกำหนด >> ทารกมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ กระตุ้นการหลั่งกลูคากอน (glucagon) >> กระตุ้นไทโรคาลซิโทนิน >> ทำให้ระดับแคลเซียมลดลง
ภาวะ hyperbilirubinemia >> ตับทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์
เชาว์ปัญญาต่ำ >> เกิดจากมารดามีภาวะคีโตสิส ทำให้การเจริญเติบโตด้านพัฒนาการสมองไม่ดี
อนงค์ ขลุ่ยนาค รหัสประจำตัว 63019953