Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหู คอ จมูก - Coggle Diagram
การพยาบาลหู คอ จมูก
-
-
การรักษา
การรักษาเบื้องต้น แมลง: ต้องทำให้ตายก่อนที่จะนำออก โดยการใช้น้ำมันมะกอก (Olive oil) หรือยาชา2% lidocaine ใส่ในหูชั้นนอกประมาณ 5 นาที ช่วยลดอาการปวดหูให้ผู้ป่วย ช่วยให้สามารถเอาสิ่งแปลกปลอมออกง่ายขึ้น
-
เมล็ดพืชหรือถ่าน(disc battery) มีฤทธิ์เป็นด่างทำให้เกิดการเน่าตายของเนื้อเยื่อ(Liquefaction necrois)เมล็ดพืชจะเกิดปฏิกิริยากับความชื้นขยายตัวเกิด การระคายเคืองได้ต้องรีบนำออก
การสูญเสียการได้ยิน (Hearing loss) (หูตึง, หูหนวก)
Rinne test
เป็นการตรวจโดยให้ฟังเสียง เพื่อเปรียบเทียบการได้ยินเสียงผ่านทางอากาศ(air conduction)และการได้ยินผ่านทางกระดูก(bone conduction)ในหูเดียวกัน
วิธีตรวจ
ผู้ตรวจวางส้อมเสียงที่ถูกเคาะแล้วไว้หน้าช่องหูแต่อย่าแตะใบหูของผู้ถูกตรวจ และวางก้านของส้อมเสียงไว้ที่บริเวณกระดูกมาสตอยด์ เพื่อให้ฟังเปรียบเทียบว่าได้ยินบริเวณไหนดังกว่าระหว่างหน้าช่องหูหรือบริเวณกระดูกมาสตอยด์
Weber test
เป็นการตรวจเพื่อวินิจฉัยอาการในผู้ที่มีปัญหา การได้ยินแบบการนำเสียงบกพร่อง กับผู้ที่มีปัญหาการได้ยินแบบประสาทรับเสียงบกพร่องโดยผู้นั้นต้องมีปัญหาเพียงหูข้างเดียว
-
Sudden Hearing Loss
อาการหูหนวกทันที หรือโรคหูดับ หมายถึง อาการไม่ได้ยินที่อาจ
เกิดขึ้นทันทีหรือค่อยลดลงจนไม่ได้ยินไม่เกิน 3 วัน
การรักษา
1.การให้ steroid
2.ยาขยายหลอดเลือด
- Carbogen
4.ไม่ควรทำงานหนัก หรือออกกำลังกายที่หักโหม บางรายแพทย์ อาจแนะนำให้นอนพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล ประมาณ 1-2 สัปดาห์
- แนะนำให้ผู้ป่วยตรวจวัดระดับการได้ยินเป็นระยะ
เพื่อประเมินผลการ รักษา
- นัดติดตามผู้ป่วยในระยะยาว
การฝังประสาทหูเทียม
เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ที่ช่วยให้ผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรงหรือหูหนวกสามารถได้ยินได้ นั่นก็คือ การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
(Cochlear Implantation)
-
การผ่าตัดหู
1.Myringostomy tube
2.Myringoplasty or Tympanoplasty Type Ι
- Mastoidectomy
4.Tympano Mastoidectomy
5.Explore middle ear
6.Stapedectomy
7.Facial nerve decompression(ลดภาวะ Facial paralysis )
8.Ossiculoplasty(การผ่าตัดซ่อมแซมกระดูกหูในช่องหูชั้นกลาง และใส่เชื่อมต่อกระดูกหูด้วยกระดูกหูเทียม )
การสูญเสียการได้ยินเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เกิดโดยที่หูนั้นทำงานบกพร่อง หรือมีความผิดปรกติทางกายภาพของภายในหูเอง ส่วนสาเหตุอื่นๆอาจมาจากการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยได้ รวมถึง
• ความผิดปรกติของของเหลวภายในหูชั้นกลาง
• การติดเชื้ออย่างรุนแรงเช่น meningitis• การบาดเจ็บทางศีรษะ
• การฟังเสียงที่ดังมากๆ โดยเฉพาะจากทางหูฟัง
• อยู่ในที่ที่มีเสียงดังมากๆ นานๆ