Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nicotine dependence - Coggle Diagram
Nicotine dependence
-
-
การพยาบาล
ผู้ที่ไม่สามารถเลิกสูบได้ด้วยตนเอง หรือล้มเหลวหลังพยายามเลิกสูบด้วยตนเอง ควรไปปรึกษาแพทย์ถึงแนวทางในการเลิกสูบ และวิธีการรับมือกับอาการขาดนิโคติน โดยแพทย์อาจมีวิธีการรักษา เช่น แพทย์อาจแนะนำวิธีการรักษาที่ใช้ยาหรือสารที่มีส่วนประกอบของนิโคตินในรูปแบบสเปรย์ ยาพ่น หมากฝรั่ง ยาอม หรือแผ่นปิดผิวหนัง หรือยาเลิกบุหรี่ที่ไม่มีส่วนผสมของนิโคติน จนกว่าผู้ที่เสพติดนิโคตินจะมีอาการดีขึ้นและไม่กลับไปสูบอีก เช่น บูโพรพิออน (Bupropion) และวาเรนนิคลีน (Varenicline)
ความหมายของโรค
การสูบบุหรี่หรือนิโคติน เป็นสารเสพติดที่มีผู้ใช้มากที่สุด และเป็นสาเหตุการเจ็บป่วย และการตาย ที่สำคัญปัจจุบันคาดว่าผู้ใหญ่หนึ่งในสาม หรือประมาณ 1200 ล้านคนเคยใช้ยาสูบ คนไทยมีอายุเฉลี่ยเมื่อเริ่มสูบบุหรี่ คือ 18.2 ปี จำนวนมวนบุหรี่โดยเฉลี่ย คือ 10.8 มวน ต่อวัน อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรไทยในปี พ.ศ 2544 ประมาณ ร้อยละ 20.6
พยาธิสภาพ
การเสพติดนิโคติน เป็นสารสำคัญในบุหรี่ทำให้เกิดการเสพติด พบว่ามีการมีพฤติกรรมการสูบอย่างต่อเนื่องและการเกิดการถอนเมื่อมีการหยุดสูบบุหรี่เกี่ยวข้องกับสารสื่อประสาท