Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยช็อค, นางสวาสิริมา หารภักดี 6301110801067 - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยช็อค
การวัดCVP
CVP ต่ำ หมายความว่า blood volume ต่ำ
CVP สูง หมายความว่า blood volume สูง
Reliability of CVP measurement
Bedside test
CVP waveform
CXR ไม่ต่ำกว่า Carina ไม่สูงกว่า head of clavicle ไม่นอกไปกว่า 1/3 medial clavicle
การพยาบาล
ความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยในระยะนี้คือ ต้อง สามารถประเมินอาการผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็ว
Closed monitoring
Hemodynamic monitoring
EKG
ABG
Serum electrolyte levels
Physical & mental status changes
Rapid & frequent administration of medications & fluids
Supportive technologies (MV,H/D,IABP)
Preventing complication ต้องประเมินอาการของ ภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่ต้น
การติดเชื้อตำแหน่งที่ให้สารน้ำ
ระดับ neurovascular ของปลายเท้ากรณีที่ให้สารน้ำที่ขา
ระมัดระวังความปลอดภัยในการทำการพยาบาล เน้น เรื่อง aseptic technique
ป้องกัน VAP (Ventilator-associated pneumonia)
Oral care
Aseptic suction technique
ระดับยาในกระแสเลือด
ลดการทำงานของหัวใจ โดยให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมน้อยที่สุด
ลดความกลัวและความกังวล
ลดการรบกวนการพักผ่อน โดยจัดกิจกรรมการพยาบาลที่จำเป็น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลผู้ป่วยช็อค
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่1: cardiac output ลดลงเกี่ยวเนื่องจาก
ปริมาตรการไหลเวียนเลือดลดลงจากการบีบตัวของหัวใจเปลี่ยนแปลง
มีการเปลี่ยนแปลงของ preload และ afterload
มีการเปลี่ยนแปลงของ preload และ afterload
ความยืดหยุ่นตัวของหลอดเลือดในร่างกายเสียหน้าที่
เกณฑ์การประเมิน
Intake / output สมดุล
Urine output มากกว่า 30 ml/hr
ค่า electrolyte, Hct, Hb, BUN, creatinine ปกติ
อุณหภูมิกายปกติ ผิวหนังอุ่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่2: เสียสมดุลของปริมาตรสารน้ำเนื่องจาก
สูญเสียเลือดหรือน้ำจาก (hypovolemic shock)
ระดับ aldosterone และ antidiuretic hormone
ลดลงจากเลือดไปที่ไตน้อย (cardiogenic shock
เกณฑ์การประเมิน
Intake / output สมดุล
Urine output มากกว่า 30 ml/hr
ค่า electrolyte, Hct, Hb, BUN, creatinine ปกติ
อุณหภูมิกายปกติ ผิวหนังอุ่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลอื่นๆ
Electrolyte imbalance
Edema
ภาวะพร่องออกซิเจน
มีโอกาสได้รับอุบัติเหตุ
มีโอกาสได้รับสารน้ำ-อาหาร
CVP ค่าปกติ
ในผู้ป่วยที่หายใจเองได้= 8-12 mmHg
ในผู้ป่วยที่ใช้ MV= 12-15 mmHg
Mean arterial pressure (MAP) > 60 mmHg
Urine output > 0.5 ml/kg/h
PAWP ค่าความดันหลอดเลือดในปอด (pulmonary artery
wedge pressure)=8-12 mmHg
ScvO2 ≥70% หรือ SvO2 ≥65%
Pathophysiology of shock
Hypovolaemic shock
Decreased blood volume
Decreased venous return
Decreased stroke volume
Decreased cardiac output
Decreased tissue perfusion
Compensatory stage
Compensatory mechanisms
Baroreceptors
Epinephrine & norepinephrine
Kidneys
cardiac output and tissue perfusion are maintained
shock
ปริมาณของ intravascular volume ลดลง 15-25%
เสียเลือด 750-1300 cc. ในผู้ป่วยที่มีน้ำหนัก 70 กก.
Sepsis and septic shock
Bacterial infection
Excessive host response
Host factors lead to cellular damage
Organ damage
Death
Assessment & Diagnostic finding
Progressive stage
Respiratory effects
การหายใจเร็ว ตื้น
ฟังปอดได้ยิน crakles
Hypoxemia = O2 ในหลอดเลือดแดงลดลง, CO2เพิ่มขึ้น
Lungs & alveoli collapse เกิดจาก ถุงลมหยุดการสร้างสาร surfactant
Cardiovascular effects
HR เร็ว อาจมากกว่า 150 ครั้ง/นาที
Chest pain หรือ MI
Cardiac enzymes
BNP เพิ่มขึ้น
Neurologic effects
Mental status เลวลง
ซึม (lethargy)
ไม่รู้สึกตัว (lose conscious)
Renal effects
BUN,Cr เพิ่มขึ้น
ปัสสาวะน้อยกว่า 0.5 ml/kg./h หรือน้อยกว่า 30 cc/h
Gastrointestinal effects
GI bleeding
Toxin จากเชื้อแบคทีเรีย
เส้นเลือดขยายตัว
รบกวนการทำหน้าที่ของเซลล์ที่ปกติ
Hepatic effects
ammonia, lactic acids ลดลง
gluconeogenesis & glycogenolysis บกพร่อง
ไวต่อการติดเชื้อที่อยู่ในกระแสเลือด
การเกิด DIC
ภาวะที่เกิด microthrombus ในหลอดเลือดขนาดเล็กทั่วร่างกาย
เกิดจากการกระตุ้น ระบบการแข็งตัวของเลือดจากสาเหตุหลายอย่าง
ทำให้ร่างกายมีเกร็ดเลือด ไฟบริน และ coagulator factor ต่างๆ ต่ำ
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะเสียชีวิตก่อนที่จะปรากฏ ischemic necrosis
อวัยวะที่พบ
สมอง
ปอด
ไต
Clinical findings of shock
Hypotension
Narrowed pulse pressue
Cold,clammy skin
Cyanosis
Hct may be reduced
Blood,urine,and sputum cultures may identify the organism
Increased WBC count
Elevated BUN & Cr
Increased serum lactate
Increased serum glucose
Cardiac enzymes & proteins may be elevated
Urine specific gravity will be high
ภาวะช็อกเกิดขึ้นเมื่อเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการ
Distributive(Circulatory,Vasoactive) shock
Neurogenic shock
ภาวะช็อกทางระบบประสาท
เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทอิสระภายในไขสันหลัง
ความดันโลหิตต่ำ
เกิดจากแรงต้านภายในหลอดเลือดที่ลดลง ทำให้มีเลือดคั่ง
ภาวะ
หัวใจเต้นช้่า
เกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาทเวกัส ซึ่งอาจเกิดได้ทั้งจากการขาดออกซิเจนและความผิดปกติในหลอดลมภาวะช็อกทางระบบประสาท
Septic shock
ช็อกจากการติดเชื้อ
สารพิษจากจุลินทรีย์ทำให้สูญเสียของเหลวผ่านผนังหลอดเลือด
มักพบในผู้ที่ได้รับเคมีบำบัด
ภูมิคุ้มกันบกพร่องในการทำงาน เช่น ในผู้ที่เป็นโรคเอดส์
Anaphylactic shock
เกิดจากปฏิกิริยาของร่างกายที่แพ้อย่างฉับพลัน รุนแรง ต่อโปรตีนและสิ่งแปลกปลอม
Cardiogenic shock
ช็อกจากโรคหัวใจ
เกิดจากการทำงานของหัวใจไม่ดีที่เกิดจากความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจไม่สามารถรักษาระดับความดันโลหิตให้เพียงพอกับทุกส่วนของร่างกายได้
Hypovolemic shock
เกิดได้เมื่อ ปริมาณของ intravascular volume ลดลง 15-25%
หรือเสียเลือด
obstructive shock
ที่เกิดจากการอุดตันของ
หลอด เลือด
pulmonary
embolism
Nursing considerations
จำเป็นต้องทำทันที Necessitates prompt.
มาตรการสนับสนุนเชิงรุก
การประเมินอย่างรอบคอบและการตรวจสอบ V/S
การวัด CVP จากสาย Cut down ที่ต่อจาก IV โดยการปลดสาย Cut down จากสาย IV บริเวณต่อก่อน
แล้วแขนผู้ป่วยข้างที่ทำ Cut down ให้อยู่ในระดับแนวขนานกับลำตัว
แนวเดียวกับ ระดับหัวใจ Axillary Line หลังจากนั้นใช้ไม้บรรทัดมาวัด
โดยวัดระดับน้ำในสาย Cut Down แล้วอ่านผล โดย Aseptic Technique
Pathology
Trauma
Blood loss
lschaemia
Clinical findings of shock
หมดสติ
ความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว
หายใจช้า
นางสวาสิริมา หารภักดี 6301110801067