Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ และสาธารณภัย, นางสาวสิริมา หารภักดี …
การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บ และสาธารณภัย
การประเมิน
ปรเมินด้านร่างกาย
บาดแผล
สาเหตุ
ชนิด
ตำแหน่ง
ความกว้าง
ความยาว
มีการบาดเจ็บต่ออวัยวะข้างเคียงหรือไม่เช่นเส้นเลือดเส้นประสาทต่อมน้ำลายท่อน้ำตา
สิ่งคัดหลั่งจากบาดแผล
สิ่งแปลกปลอมความสกปรกของบาดแผล
ภาวะเลือดออก
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิต
อัตราการหายใจ
ชีพจร
แผลที่มีอวัยวะโผล่
ประเมินอาการ ABCDE
ช่วยดูแลภาวะเร่งด่วนตามอาการอาการแสดง
ห้ามจับหรือโดนอวัยวะนั้นกลับเข้าไป
ใช้ผ้าชุบ nss บิดหมาดๆคลุมแผล
ปิดแผลและพันด้วยผ้าสะอาดอีกครั้ง
ให้นอนโรงและงอเข่าเพื่อไม่ให้แผลแยก
งดน้ำอาหาร
IV Lab Film
OR
การห้ามเลือด hemostasis
เป็นขั้นตอนแรกที่ต้องจัดการกับบาดแผลเพราะบางครั้งอาจมีการบาดเจ็บต่อหลอดเลือดวิธีที่ดีที่สุดควร stop active bleeding โดยใช้ Direet manual pressure โดยกดที่แผล 5-10 นาที หรือใช้ผ้าก๊อซปิดแผลพันด้วย Elastic bandage ไม่ควรใช้เพียงพลาสเตอร์เพราะหากห้ามเลือดไม่ดีอาจทำให้ผู้ป่วยเสียเลือดช็อกหรือเสียชีวิตได้
แผลถูกตัดขาด
ประเมินอาการ ABCDE
ช่วยดูแลภาวะเร่งด่วนตามอาการและอาการแสดง
แผลเล็กใช้ผ้าปิดและใช้มือกดปากไว้
แพ้ชนะใจมีเลือดออกมากอดไม่อยู่ให้ใช้เชือกรัดเหนือแผลคล้ายทุก 15 นาทีครั้งละ 30 ถึง 60 วินาที
อวัยวะที่ถูกตัดควรล้างน้ำสะอาดแล้วใส่ถุงปิดปากถุงให้แน่นแช่น้ำผสมน้ำแข็ง
งดน้ำงดอาหาร
IV lab film
ส่งโรงพยาบาลภายใน 4-6 ชั่วโมง
CHEST INJURY
1.Broken ribs
Flail Chest
Pneumothorax (Collapsed Lung)
Sucking Chest Wound
Gunshot Wound
Tension Pneumothorax
ร่องรอยการบาดเจ็บทรวงอกการเคลื่อนไหวของทรวงอกน้อยลงหอบเหนื่อยหรือหยุดหายใจอยู่ในภาวะช็อกหลอดเลือดด่าคอโป่งหลอดลมคอถูกดันเมืองไปตรงข้าม Aala Subcutaneous emphysema เคาะได้เสียงโปร่งฟังเสียงปอดเบาลง Hypoxia-dropping O₂ Sat
Cardiac Tamponade
ร่องรอยการบ่ดเจ็บที่ Anterior chest wall, Lt. lateral chest wall
เส้นเลือดดำที่คอโป่ง
ช็อก
เสียงหัวใจเบา
-การตรวจดู CVP
-การตรวจด้วย Ultrasound
TRIAGE การคัดแยกผู้ป่วย
การเรียงลำดับความสำคัญ
1.ทันที(สีแดง)
แผลที่หน้าอก,ช็อค,ระดูกหักแบบเปิด,แผลไหม้
2.ด่วน(สีเหลือง)
แผลในช่องท้อง,ตา
3.ล่าช้า(สีเขียว)
แผลไหม้เล็กน้อย,กระดูกหักเล็กน้อย,เลืือดออกเล็กน้อย
OPD or ER
ER
ระดับที่1 ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ต้องช่วยเหลือทันที
ระดับที่2 ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
ระดับที่3 ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า
OPD
ระดับที่4 ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป
ระดับที่5 ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน
Disaster ภัยพิบัติ
คือ ภัยภัยที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
1.ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
2.ภัยพิบัติที่มนุษย์สร้างขึ้น
การพยาบาลสาธารณะภัย
ภัยหรืออันตรายที่ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตทรัพย์สินและอื่น ๆ อย่างรุนแรงประกอบด้วย
ภัยที่เกิดขึ้นกับคนหมู่มาก
2.อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลาหรือทุกสถานที่อย่างกะทันหันหรือค่อยๆเกิดขึ้นจากธรรมชาติเองหรือจากมนุษย์
เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ
เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายประชาชน
เกิดความต้องการในสิ่งที่จำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วนสําหรับผู้ประสบภัย
ประเภทของสาธารณภัย
เกิดจากธรรมชาติ (Natural disaster)
น้ำท่วม,พายุ,แผ่นดินถล่ม,ภัยแล้ง,แผ่นดินไหว
,ไฟป่าโรคระบาด เป็นต้น
เกิดจากการกระทําของมนุษย์ (Man-made disaster)
สงคราม,อัคคีภัย,ภัยจากจราจร,ภัยจากการทํางานจลาจล
การจัดการสาธารณภัยระยะก่อนเกิดเหตุ (PRE IMPACT)
การป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น (Prevention / Mitigation)
เป้าหมายสําคัญคือการบริหารจัดการก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ขึ้นเพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
การเตรียมพร้อมการรับสาธารณภัยเป็นการวางแผนเตรียมความพร้อมรับสาธารณภัยรวมไปถึงเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การจัดการสาธารณภัยระยะเกิดเหตุ(Impact) TALL-TRADE
กิจกรรมการที่ปฏิบัติในระยะนี้
การคัดแยกประเภทของผู้ประสบภัย (Triage) ซึ่งเป็นบทบาทที่สำคัญที่สุดเพื่อให้ผู้ประสบภัยได้รับการรักษาพยาบาล / ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกต้องเหมาะสม
การให้การให้การพยาบาลด้านสุขภาพแก่ผู้ประสบภัยในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันและการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อโดยการจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
การจัดการสาธารณภัยระยะหลังเกิดเหตุ (Post-impact)
เป้าหมายการดูแลในระยะนี้การทําให้ระบบบริการสุขภาพและชุมชนกลับคืนสู่ภาวะปกติเน้นการฟื้นฟูสภาพ
การดูแลผู้บาดเจ็บระยะรักษาในโรงพยาบาล
ER
OR
ICU
WARD
กลไกการบาดเจ็บ
เนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ
การกำซาบของเลือดลดลง
ใช้ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
การสลายไฟบรินและโปรตีน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ความหมายของการจำแนกประเภทผู้ป่วย
Triage (ธีรอาช) หมายถึงการคัดแยกการจัดกลุ่มการจําแนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพื่อค้นหาว่ารายไดเจ็บป่วยรุนแรงเร่งด่วนที่สุดและรายใดสามารถรอคอยได้เพื่อรักษาก่อนตามความเร่งด่วนให้ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตลดความพิการผู้ป่วยภายใต้ทรัพยากรที่มีอย่างเหมาะสม ได้แก่ เวลาสถานที่เครื่องมือและผู้ดูแล
นางสาวสิริมา หารภักดี 6301110801067