Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Panic Disorder (โรคตื่นตระหนก) - Coggle Diagram
Panic Disorder
(โรคตื่นตระหนก)
ความหมาย
คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่มีเหตุผล ซึ่งโรคนี้แตกต่างจากอาการหวาดกลัวหรือกังวลทั่วไป เนื่องจากผู้ป่วยจะเกิดอาการแพนิค (Panic Attacks) หรือหวาดกลัวอย่างรุนแรง ทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย
คือระบบประสาทอัตโนมัติทำงานไวเกินไป
เกิดจากฮอร์โมนลดกะทันหัน ทำให้สารสื่อในสมองผิดปกติคล้ายกระแสไฟฟ้าลัดวงจร ส่งผลประสาททำงานผิดพลาด สมองรวน ทำให้สมองหลั่งสารตื่นตระหนกออกมา หลังอาการแพนิคสงบลง ผู้ป่วยมักรู้สึกอ่อนเพลียไม่ค่อยมีแรงและกังวลว่าอาการจะกลับมากำเริบ
เกณฑ์การวินิจฉัยของโรคตาม DSM-5
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคความตื่นตระหนก จะกำหนดไว้ใน DSM-5 เป็น โรควิตกกังวล ขึ้นอยู่กับการเกิดการโจมตีเสียขวัญซึ่งมักเกิดขึ้นและมักไม่คาดคิดนอกจากนี้อย่างน้อยหนึ่งโจมตีตามมาด้วยหนึ่งเดือนหรือมากกว่าของคนกลัวว่าพวกเขาจะมีการโจมตีมากขึ้นสิ่งนี้ทำให้พวกเขาเปลี่ยนพฤติกรรมซึ่งมักรวมถึงการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดการโจมตี
เป็นกำหนดโจมตี Panic ด้วย DSM-5นื่องจาก การโจมตีแบบตื่นตระหนก ถือเป็นกุญแจสำคัญในการวินิจฉัยโรคเกี่ยวกับความสับสนวุ่นวายจึงมีการระบุและเจาะจงมาก การโจมตีที่น่าตื่นตาตื่นใจคือการโจมตีที่เกี่ยวข้องกับความกลัวที่เฉพาะเจาะจงเช่นเดียวกับการบิน การโจมตีที่ไม่คาดคิดที่น่ากลัวไม่ได้มีทริกเกอร์หรือคิวที่ชัดเจนและอาจดูเหมือนจะเกิดขึ้นจากสีฟ้า ตาม DSM-5 การโจมตีด้วยความสยดสยองเป็นลักษณะสี่หรือมากกว่าของ อาการ ต่อไปนี้
อาการหอบหัวใจเต้นหรือหัวใจเต้นเร็ว
การขับเหงื่อ
สั่นไหวหรือสั่น
รู้สึกหอบ หรือ หายใจไม่ออก
รู้สึกสำลัก
ปวดทรวงอก หรือรู้สึกไม่สบาย
คลื่นไส้หรือปวดท้อง
รู้สึกวิงเวียน, ไม่มั่นคง, lightheaded หรือจาง ๆ
ความรู้สึกของความไม่ปกติ (derealization) หรือถูกแยกออกจากตัว (depersonalization)
กลัวการสูญเสียการควบคุมหรือจะบ้า
กลัวการตาย
อาการชาหรือรู้สึกเสียวซ่า (paresthesias)
หนาวหรือร้อนชื้นสำคัญที่ต้องทราบว่าการวินิจฉัยความผิดปกติของโรคตื่นตระหนกต้องออกกฎสาเหตุอื่น ๆ ที่อาจทำให้เกิดการตื่นตระหนกหรือสิ่งที่รู้สึกเหมือนอย่างหนึ่ง การโจมตีไม่ได้เกิดจากผลทางสรีรวิทยาโดยตรงของสาร (เช่นการใช้ยาหรือยา) หรือภาวะทางการแพทย์โดยทั่วไป. การโจมตีจะไม่ดีขึ้นคิดโดยโรคทางจิตอื่น เหล่านี้อาจรวมถึงความหวาดกลัวทางสังคมหรือความหวาดกลัวที่ เฉพาะเจาะจง อื่น ๆ
อาการและอาการแสดง
ทำให้เกิดความทุกข์และอาจส่งผลต่อการทำงานตามปกติในชีวิตประจำวัน (สถาบันสุขภาพและความเป็นเลิศทางคลินิกแห่งชาติ 2013). ความกลัวอาจเกิดขึ้นจากสถานการณ์ทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นจริงหรือที่รับรู้ได้ และอาจนำไปสู่ความทุกข์ทางอารมณ์และทางร่างกาย ในกรณีร้ายแรง SAD อาจทำให้เกิดการโจมตีเสียขวัญได้ (Stein and Gorman, 2001; Shields, 2014) อาการตื่นตระหนกเป็นลักษณะอาการของความกลัวอย่างฉับพลันที่อาจรวมถึงอาการทางกายภาพ เช่น ใจสั่น หายใจถี่ ตัวสั่น และความกลัวว่าจะมีสิ่งเลวร้ายเกิดขึ้น ระยะเวลาของตอนอาจใช้เวลาหลายนาทีถึงสองสามชั่วโมง อาการนี้สามารถรับรู้ได้โดยผู้ป่วยเป็นการใช้การสะกดจิตทางคลินิกในการบำบัดความวิตกกังวลและความตื่นตระหนก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล และการพยาบาล
ข้อที่ 1 การปรับตัวบกพร่องเนื่องจากภาวะวิตกกังวล
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีภาวะวิตกกังวลลดลงและสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ รู้สึกปลอดภัย
การประเมินผู้ป่วย
1) ด้านร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ใจสั่น หายใจไม่เต็มอิ่ม นอนไม่หลับ
2) ด้านอารมณ์ มีความกังวล ทุกข์ใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในชีวิต
3) ด้านความคิด ควรมีการประเมินด้านการคิด ฆ่าตัวตาย
ค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วย โดยวิเคราะห์สาเหตุของความขัดแย้งในใจ สำรวจวิธีการลดความวิตกกังวลในอดีตและวิธีการที่ใช้ได้ผลดี
ให้การช่วยเหลือด้านจิตใจ ได้แก่ การยอมรับและตระหนักว่าผู้ป่วยอยู่ในภาวะวิตกกังวล ช่วยให้ผู้ ป่วยยอมรับตนเอง เผชิญกับอาการกังวลได้ และช่วยให้ผู้ป่วยคิดและทำกิจกรรมไปในเชิงสร้างสรรค์
ส่งเสริมให้ใช้เทคนิคผ่อนคลาย ประกอบด้วย การฝึกหายใจเข้า - ออกลึก ๆ ช่วยนำอากาศบริสุทธิ์เข้าปอดและสมอง ฝึกสมาธิและฝึกการหยุดคิด
ส่งเสริมพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (Assertive training) เป็นการฝึกให้ผู้ป่วยกล้าแสดงออกถึงความรู้สึกที่ ควรแสดงออกในสังคมโดยไม่วิตกกังวล เพื่อกำจัดปฏิกิริยาตอบสนองที่มีความรู้สึกกังวล (ขจัดการปรับตัวที่ไม่เหมาะสม)
สอนเทคนิคการใช้รูปแบบการเผชิญปัญหา (Coping methods) ที่เหมาะสมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตวิญญาณ และ อารมณ์
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ลดสิ่งกระตุ้น ลดสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความวิตกกังวล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความวิตกกังวล เช่น อ่านหนังสือ วาดภาพ ฟังเพลง เป็นต้น
สนับสนุนให้กำลังใจ ให้การปรึกษา และชื่นชมเมื่อผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา พร้อมทั้งประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ข้อที่ 2 มีอาการตื่นตระหนก เนื่องจากคิดว่าจะควบคุมตนเองไม่ได้
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการตื่นตระหนกลดลง และมีทักษะในการควบคุมตนเองในเบื้องต้นได้ดีขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ รู้สึกปลอดภัย
ประเมินระดับอาการวิตกกังวลหรืออาการตื่นตระหนก เช่น ใจสั่น เหงื่อแตก ตัวสั่น หายใจแรงและเร็วเกินไป
ขณะผู้ป่วยมีอาการตื่นตระหนก พยาบาลควรอยู่กับผู้ป่วยตลอดเวลา เพื่อให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจและรู้สึกปลอดภัย
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่วุ่นวายกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีอาการมากขึ้น พยาบาลผู้ดูแลควรมีท่าทีสงบ สุขุม และนุ่มนวล
ในระยะวิกฤติ ผู้ป่วยมักได้รับยาทางจิตเวช ควรดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา พร้อมทั้งติดตามอาการข้างเคียงจากยาคลายกังวล ในกลุ่ม Benzodiazepine เช่น ง่วงซึม สับสน เดินเซ เป็นต้น พร้อมทั้งให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติในการติดตามอาการผิดปกติต่าง ๆ
เมื่อผู้ป่วยมีอาการตื่นตระหนกลแสงหรือควบคุมอาการกังวลได้ดีขึ้น ควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกหรือพูดถึงสาเหตุหรือสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการตื่นตระหนกนั้น
ให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจด้วยการทำจิตบำบัดแบบเปลี่ยนแปลงความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behaviour Therapy; CBT) ร่วมกับฝึกทักษะการควบคุมตนเองในเบื้องต้นเพื่อลดอาการตื่นตระหนกที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น เทคนิคการควบคุมการหายใจ เทคนิคการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ฝึกทำใจให้สงบ เป็นต้น
แนะนำการรับประทานอาหารเพื่อคงไว้ซึ่งความสมดุลและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น เช่น ระดับน้ำตาลในเลือด ปวดศรษะ อ่อนเพลีย เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ให้คำแนะนำในการลดหรืองดอาหารที่อาจจะก่อให้เกิดอาการตื่นตระหนก เช่น อาหารที่มีส่วนประกอบของผงชูรส (monosodium glutamate) เครื่องดื่มที่ มีคาเฟอีน เป็นต้น รวมทั้งหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด เพื่อลดปัจจัยกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท
สนับสนุน ให้กำลังใจ ให้การปรึกษา และชื่นชมเมื่อผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา พร้อมทั้งประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยากลุ่ม Benzodiazepine Serotonin Reuptake Inhibitor เช่น ง่วงซึม สับสน เดินเซ อ่อนเพลีย เป็นต้น และกลุ่ม Selective