Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยกลางคน ( 41-59 ปี ) - Coggle Diagram
วัยกลางคน ( 41-59 ปี )
พัฒนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านร่างกาย
ร่างกายจะเริ่มเสื่อมถอยในเกือบทุกระบบของร่างกาย
ผิวหนังจะเริ่มเหี่ยวย่น หยาบ ไม่เต่งตึง
ผมเริ่มร่วงและมีสีขาว
น้าหนักตัวเพิ่มขึ้นจากการสะสมไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น
ความสามารถในการมองเห็นเปลี่ยนแปลง
สายตาจะยาวขึ้น
มีอาการหูตึงเนื่องจากความเสื่อมของเซลล์
การลิ้มรสและการได้กลิ่นเปลี่ยนแปลงไป
ผนังหลอดเลือด หัวใจ ปอดไต และสมอง มีความเสื่อมลง
ส่งเสริมพัฒนาการ
รับสารอาหารที่มีประโยชน์อย่างหลากหลายและมีสุขภาพทีดีให้ครบ 5 หมู่
ชายควรได้พลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่
หญิงควรได้พลังงานวันละ 1,600 กิโลแคลอรี่
ออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครังต่อสัปดาห์ และใช้เวลาอย่างน้อยครังละ 20-30 นาที ต่อเนื่อง
นอนหลับอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน
ตรวจสุขภาพประจำปีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ศึกษาการเตรียมตัวเข้าสุ่วัยชรา
ด้านอารมณ์
บุคคลที่ประสบกับความสำเร็จในชีวิตการทำงาน
มีอารมณ์มั่นคง
รู้จักให้อภัย
ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
มีความพึงพอใจในชีวิตที่ผ่านมา
บุคลิกภาพค่อนข้างคงที่
บางคนจะมีอารมณ์เศร้าจากการที่บุตรเริ่มมีครอบครัวใหม่ การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
ส่งเสริมพัฒนาการ
บริหารจิตผ่านการบริหารกาย
การออกกาลังกายอย่างสมำเสมอ พยายามเปลี่ยนอิริยาบถในขณะทำงานอย่างน้อยทุก 2 ชม
การบริหารจิต
การฝึกจิตให้สดชื่น การมองโลกในแง่บวก
การจัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้น่าอยู่
ทางสังคม
เพื่อนร่วมงานหรือเพื่อนบ้านใกล้เคียง
ความสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นในลักษณะเฝ้าดูความสำเร็จในการศึกษาและความก้าวหน้าในหน้าที่การทำงานของบุตร
ในบุคคลที่เป็นโสดกลุ่มเพื่อนที่สำคัญ
กลุ่มเพื่อนสนิทที่ผูกพันตั้งแต่ในวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ระยะปลายของวัยนี้ส่วนใหญ่เข้าสู่วัยใกล้เกษียณอายุการทำงาน
ส่งเสริมพัฒนาการ
ควรหาสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
ยอมรับความไม่สมบูรณ์แบบของตนเองและผู้อื่น
ไม่เปรียบเทียบตนเองกับบุคคลอื่น
กล้าคิด กล้าตัดสินใจ เผชิญปัญหาอย่างมีสติ
เตรียมตัวเป็นวัยสูงอาย
ทางสติปัญญา
มีพัฒนาการทางสติปัญญาใกล้เคียงกับวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
มีความคิดเป็นเหตุผล
รู้จักคิดแบบประสานข้อขัดแย้งและความแตกต่าง
ส่งเสริมพัฒนาการ
พยายามฝึกทักษะการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้ความคิด เหตุผล มากกว่าใช้อารมณ์ตัดสิน
เรียนรู้ที่จะวางแผนชีวิตและยอมรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้านสติและเรียนรู้การปรับตัว
กระตุ้นและฝึกตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
วิกฤตของวัยกลางคน
คนในวัยนี้จะเกิดการตกใจคิดไปต่าง ๆ นานาว่า ตนเองแก่แล้วเหลือเวลาในชีวิตอีกไม่มากอยากทำอะไรก็ทำเลย
ทำให้เกิดการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว
ส่งผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต
การตัดสินใจมักจะมีอาการเครียด น้อยใจ วิตกกังวล ในสิ่งที่จะกระทำ หรือตัดสินใจกระทำไปแล้ว
การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
พัฒนาการทางร่างกายที่เจริญตามภาวะปกติของร่างกาย
ความต้องการการเรียนรู้ความอยากรู้อยากเห็นและความมั่นคงทางอารมณ์
ความคิด ความเข้าใจ การรับรู้ และการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล
ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งทางสังคม สิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของการแพร่ระบาด COVID-19
รายได้ลดลง
ถูกเลิกจ้าง
ค้าขายฝืดเคือง
เกิดความเครียด ซึมเศร้า
เพิ่มความเสี่ยงฆ่าตัวตายได้