Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยทางจักษุ ต้อกระจก (cataract) - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยทางจักษุ
ต้อกระจก (cataract)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้หลังผ่าตัดต้อกระจก
ช่องหน้าลูกตาแบน ( flat anterior chamber )กระจกตาบวม เลือดออก ความดันตาสูง จุดรับภาพจอประสาทตาบวมจอประสาทตาหลุดลอก การติดเชื้อในลูกตา เหลือค้างของต้อกระจก ถุงหุ้มเลนส์ขุ่น
Lens ตาขุ่นเกิดจากสาเหตุ
ส่วนใหญ่ (ประมาณ 95%) เกิดจากภาวะเสื่อมตามวัย คนที่มีอายุมากกว่า 60 ปี จะเป็นต้อกระจกแทบทุกคน แต่อาจเป็นมากน้อยต่างกันไป เรียกว่า ต้อกระจกในคนสูงอายุ (senile cataract)
ส่วนน้อยอาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น เป็นมาแต่กำเนิด การได้รับบาดเจ็บ ความผิดปกติของตา เช่น ม่านตาอักเสบ, ต้อหิน ยาหยอดตาที่เข้าสเตียรอยด์ หรือกินสเตียรอยด์นาน ๆ รังสี ผู้ป่วยเบาหวาน ภาวะขาดอาหาร
อาการของ lens ตาขุ่น
ตามัวลงเรื่อย ๆ ทีละน้อย ตามัวเหมือนมีหมอกบัง มองในที่มืดชัดกว่าที่สว่าง หรือถูกแสงสว่าง จะรู้สึกตาพร่ามัว สู้แสงไม่ได้ หรือมองเห็นภาพซ้อน อาการตามัวจะเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ กินเวลาเป็นแรมเดือนแรมปี จนในที่สุดเมื่อแก้วตาขุ่นขาวจนหมด (เรียกว่า ต้อสุก) ก็จะมองไม่เห็นสำหรับต้อกระจกในคนสูงอายุ มักจะเป็นที่ตาทั้งสองข้าง
พยาธิสภาพการเปลี่ยนแปลง
ต้อกระจก แก้วตาประกอบด้วย น้ำ 65% โปรตีน 35% แร่ธาตุต่างๆ ในระยะแรกจะมีการซึมผ่านของน้ำมากกว่าภาวะปกติทำให้เนื้อเยื่อ ของแก้วตาบวม เมื่อถึงระยะต้อกระจกสุกจำนวนน้ำที่เพิ่มขึ้นจะลดลงความหนาแน่นของแก้วตาจะค่อยๆ ลดลงเกิดการสูญเสียธาตุโพแทสเซียมโดยมีธาตุโซเดียมเข้ามาแทนที่เพื่อรักษาสมดุลแคลเซียมมาสะสมมากขึ้น การใช้ออกซิเจนลดลง ขณะเดียวกันจะเกิดความไม่สมดุลของโปรตีนชนิดของต้อกระจก
ต้อกระจก ( cataract ) มี 3 ชนิด
ต้อกระจกในวัยสูงอายุ (senile cataract)
2.ต้อกระจกโดยกำเนิด (congenital cataract)
3.ต้อกระจกทุติยภูมิ ( secondary cataract)
การผ่าตัด
Extracapsular Cataract Extraction(ECCE)
2.Intracapsular Cataract Extraction(ICCE)
3.Extracapsular Cataract Extractionwith Intraocular Lens (ECCE c IOL)
4.Phacoemulsification with IntraocularLens ( PE cIOL)
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหดูเนื่องจากดามัวและสูงอายุ
วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับชั้นตอนการผ่ตัด และการดูแลดนแองก่อนผ่าตัด
วิตคกังวลเนื่องจากไม่คุ้นเคยกับสภาพแวดสัอมและเครื่องใช้ในพอผู้ป่วย
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกร้อนภายหลังผ่าตัดเนื่องจากร่างกายขาดความพร้อมในการผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
ให้ผู้ป่วยนอนเดียงเดี้ย และล้อเดียงสามารถล็อคได้
อธิบายสิ่งแวดล้อมภายในห้อง หรือตึกผู้ป่วยรวมทั้งการใช้ห้องน้ำ ห้องส้วม การใช้กริ่งเพื่อขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่
ไม่เร่งรีบผู้ป่วยในขณะทำกิจวัตรประจำวัน
การพยาบาลเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนตา
ในขณะเคลื่อนช้ายผู้ป่วยจากเตียงของห้องผ่าตัดมายังเตียงในหอผู้ป่วย พยาบาลต้องช่วยประคองศีรษะผู้ป่วยพร้อมทั้งให้ผู้ป่วยค่อยๆ เถื่อนตัวมาที่เดียงนอน
การพยาบาลเพื่อช่วยลดอาการปวดตาและให้พักหลับได้
1.ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา พร้อมทั้งประเมินหลังให้ยา ถ้ำอาการปวดไม่ทุเลาต้องรายงานแพทย์
2.จัดท่านอนให้ผู้ป่วย ไม่นอนทับบริเวณตาที่ได้รับการผ่าตัด
3.จัดสภาพแวดล้อมไม่ให้มีสิ่งรบกวนผู้ป่วยมากเกินไป เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ ยุง เป็นต้น
[การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ตาภายหลังผ่าตัด]
ㆍ แนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับวิธีทำความสะอาดใบหน้าโดยไม่ให้น้ำเข้าตาข้างที่ทำผ่าตัด
ㆍ เน้นไม่ให้ผู้ป่วยเปิดตา ใช้นิ้วมือแยงดาหรือขยี้ตา
ㆍ ปิดผู้ปิดตา และครอบที่ครอบตาตามแผนการรักษาและตรวจสอบให้ปิดแน่นไม่เคลื่อนหลุด เพื่อป้องกันผู้ป่วยเอานิ้วมือเข้าไปสัมผัสหรือขยี้ตาล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง ทั้งก่อนและหลังให้การพยาบาล และปฏิบัติการพยาบาลอย่างถูกต้องด้วยวิธีปลอดเชื้อทุกขั้นตอน
การพยาบาลเพื่อลดความพร่องในการดูแลตนเองเมื่อถูกปิดตาข้างที่ผ่าตัด
ㆍ เมื่อพยาบาลไม่ได้อยู่ที่เตียงผู้ป่วยให้ว่างกริ่งไว้ใกล้มือผู้ป่วยดลอดเวลา
และตอบรับการร้องขออย่างรวดเร็วให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย
ตามความเหมาะสม
. บอกแผนการพยาบาลทุกครั้งขณะให้การพยาบาลผู้ป่วย
ㆍ บอกชนิดอาหารและเครื่องดื่ม ให้ผู้ป่วยทราบทุกครั้ง
ต้อกระจก คือภาวะการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของแก้วตาหรือเลนส์ตาจากที่เคยใสเป็นขุ่น แก้วตาทำหน้าที่ในการรวมแสงให้ตกบนจอประสาทตา เมื่อแก้วตาขุ่นทำให้แสงผ่านไปถึงจอประสาทตาลดลงและส่งผลกระทบต่อการรวมแสง