Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชาย ชวกร อายุ 6 เดือน DX.Aspirate pneumonia ปอดอักเสบจากการสูดสำลัก -…
เด็กชาย ชวกร อายุ 6 เดือน DX.Aspirate pneumonia ปอดอักเสบจากการสูดสำลัก
cc:หายใจเหนื่อย ตัวเขียว on ET-tube refer โรงพยาบาลฝาง
PI:3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไอ มีเสมหะ หายใจเร็ว มีไข้ต่ำๆ Admit โรงพยาบาลฝาง DX.Acute bronchitis ขณะนอนโรงพยาบาล มารดาให้ทานนม จากนั้น มีอาการเกร็ง ตัวเขียว on ET-tube refer โรงพยาบาลนครพิงค์ DX.Aspirate pneumonia
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่1
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการอักเสบของเนื้อเยื่อปอด
Sabjective :
มารดาบอกว่าเด็กหายใจมีเสียงเสมหะในลำคอ
Objective:
on O2 cannula 1 lpm ,O2 sat 95% ,มีหายใจลำบาก ,มีไอ
วัตถุประสงค์:
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล:
อัตราการหายใจปกติตามวัย (ค่าปกติแรกเกิด-1 ปี 30-60 ครั้งต่อนาที)
O2 sat มากกว่าหรือเท่ากับ 95%
ไม่มีภาวะขาดออกซิเจน ได้แก่ ปลายมือปลายเท้าเขียว กระสับกระส่าย
analysis:
ปอดอักเสบในระยะแรกจะเริ่มมีของเหลวคั่ง บวม และมีเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นในถุงลมปอดจะมี ของเหลวที่เกิดจากการอักเสบของปอดคั่งอยู่ต่อมาจะมี macrophage ที่บริเวณที่มีการอักเสบเพื่อกําจัดเชื้อ เหล่านี้และกําจัดออกสู่ระบบน้ำเหลือง ปอดอักเสบส่วนนี้จะเริ่มมี consolidation เป็นผลให้ความจุปอดและ ความยืดหยุ่นของปอดลดลง จะพบเยื่อบุบวม มีเสมหะจำนวนมากในถุงลมและทางเดินหายใจ ทำให้ทางเดินหายใจอุดกั้น เลือดที่ไหลผ่านปอดส่วนนั้นจะไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซซึ่งกันและกันกับถุงลมปอด ซึ่งจะทำให้พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง ทำให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอตามมา
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนและระดับความรู้สึกตัว ลักษณะการหายใจ อาการหอบเหนื่อย การตรวจสภาพสีผิว ปลายมือปลายเท้า
เหตุผลการพยาบาล
เพื่อจะได้ให้การพยาบาลได้ทันท่วงทีและ
รายงานแพทย์ทราบทันทีเมื่อพบภาวะผิดปกติ
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
เหตุผลการพยาบาล
เนื่องจากการประเมินสัญญาณชีพจะช่วยให้ทราบความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน และให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
3.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยจัดให้นอนศีรษะสูง 30 องศา
เหตุผลทางการพยาบาล
เพื่อทำให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง ไม่ไปดันปอดทำให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น การระบายอากาศและการแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นไปได้ดีขึ้น
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาของแพทย์ (O2 cannula 1 lpm.keep Sop2 มากกว่าหรือเท่ากับ 95%
เหตุผลการพยาบาล
เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือดของผู้ป่วยให้กลับสู่ภาวะปกติ
5.ดูแลให้ได้รับยา Ambroxol Hcl 30 mg/5 ml. po ครั้งละ 0.8 cc.
เหตุผลการพยาบาล:
Ambroxol hydrochloride ช่วยเพิ่มการหลั่งเยื่อเมือกในหลอดลม เพิ่มการสร้างสารลดแรงตึงผิวที่ปอด ทำให้เพิ่มการไหลเวียน และขับออกของเยื่อเมือกให้ดีขึ้น จึงเพิ่มการขับเสมหะและบรรเทาอาการไอ
6.ดูแลให้ได้รับยา Cefotaxime 280 mgⓥ ทุก 6 hr.
เหตุผลทางการพยาบาล:เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มเซฟาโลสปอริน (Cephalosporins) ออกฤทธิ์โดยฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ใช้รักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรียในร่างกาย
7.ฟังเสียงปอดเป็นระยะ ๆ เพื่อประเมินการหดรัดตัวที่ผิดปกติของหลอดลมและทำเคาะปอด
เหตุผลทางการพยาบาล
เพื่อให้เสมหะนั้นขับออกมาได้สะดวก
8.แนะนำให้ผู้ดูแลเด็กให้เด็กดื่มน้ำบ่อย ๆหากไม่มีการจำกัดน้ำ
เหตุผลการพยาบาล
เพื่อที่จะช่วยทำให้เสมหะที่คั่งอยู่ในปอดนั้นอ่อนตัวลงและมีการขับออกมาได้ง่ายขึ้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่
เสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำเนื่องจากมารดาพร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
Sabjective :
-
Objective:
DX.Aspirate pneumonia
วัตถุประสงค์
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจซำ
เกณฑ์การประเมิน
มารดาสามารถบอกการปฏิบัติตัวหลังกลับบ้านได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลความสะอาดของปาก
เหตุผลการพยาบาล
เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
2..ให้หลีกเลี่ยงมลพิษในบ้านและนอกบ้าน เช่น ควันบุหรี่ ฝุ่นละออง
เหตุผลการพยาบาล
ฝุ่นหรือควันประกอบด้วยสารที่เป็นพิษหลายชนิด เมื่อเข้าไปในทางเดินหายใจส่วนลึกของเนื้อเยื่อปอดจะทำให้เกิดการอักเสบคล้ายเกิดการติดเชื้อในปอด ส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซซึ่งเป็นหน้าที่หลัก ในระยะยาวเมื่อเกิดการอักเสบซ้ำๆจะทำให้โครงสร้างของปอดและหลอดลมเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดโรคปอดเเละหัวใจตามมาได้ เพิ่มโอกาสการเกิดหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืด โรคติดเชื้อในทางเดินหายใจ และโรคมะเร็ง เป็นต้น
3.การดูแลสุขอนามัย เช่น การล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ หลีกเลี่ยงอยู่ในที่แออัดหรือแหล่งโรคระบาด เเละเมื่อมีคนในบ้านป่วยหรือไม่สบายควรเว้นระยะห่าง ลดการสัมผัส แยกของใช้จนกว่าจะหายจากการป่วย
เหตุผลการพยาบาล
เพื่อป้องกันโรคและแบททีเรียต่างๆเข้าสู่ร่างกานเด็ก
4.แนะนำการกินนมแม่อย่างเดียว ในทารกจนถึงอายุ 6 เดือน หากสามารถให้ได้
เหตุผลการพยาบาล
ภูมิคุ้มกัน: โดยเฉพาะน้ำนมช่วงแรกหลังคลอดที่เรียกกว่า “น้ำนมเหลือง” หรือ Colostrums น้ำนมในระยะนี้จะมีปริมาณสารภูมิคุ้มกันสูง ซึ่งจะช่วยป้องกันและลดโอกาสการติดเชื้อของทารกแรกเกิดได้ มีเม็ดเลือดขาวเป็นส่วนประกอบ 2,000-3,000 เซลล์/มิลลิลิตร มีปริมาณไลโซไซม์ ซึ่งเป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่สามารถทำลายผนังเซลล์ของแบคทีเรียทำให้เชื้อตาย สูงกว่านมอื่นๆ ถึง 5,000 เท่า จึงเป็นหนึ่งเหตุผลที่ทำให้ได้รับการเปรียบเปรยว่านมแม่เปรียบเสมือนวัคซีนแรกของลูก
5.แนะนำการได้รับภูมิคุ้มกันครบตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แรกเกิด : วัคซีน HB1 BCG อายุ 1 เดือน : วัคซีน HB2 อายุ 2 เดือน: DTP-HB-HIB ,OPV2, Rota1 อายุ 4 เดือน : วัคซีน DPT-HB-HIB2 , OPV2 Rota2และ IPV อายุ 6 เดือน : วัคซีน DPT-HB-HIB3 , OPV3 และ Rota3 อายุ 9 เดือน : วัคซีน MMR1 อายุ 1 ปี : วัคซีน LAJE1 อายุ 1 ปี 6 เดือน : วัคซีน DPT4 ,OPV4 และ MMR2 อายุ 2 ปี 6 เดือน : วัคซีน LAJE2 อายุ 4 ปี : DTP5 และ OPV5
เหตุผลการพยาบาล
วัคซีนจะช่วยป้องกันและลดความเสียงของการเกิดโรคและเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและภูมิคุ้มกันที่จะส่งต่อให้คนอื่นด้วย
analysis:
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่
เสี่ยงต่อการขาดสารน้ำและสารอาหารเนื่องจากร่างกายมีการเผาผลาญพลังงานมากขึ้นจากการหายใจเหนื่อยหอบ
Sabjective :
-
Objective:
on O2 cannula 1 lpm ,O2 sat 95% ,มีหายใจลำบาก ,มีไอ
น้ำหนัก 7.27 กิโลกรัม
ส่วนสูง 66 เซนติเมตร
วัตถุประสงค์
กิจกรรมการพยาบาล
analysis:
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุสำลักนมเนื่องจากมีอาการไอ
Sabjective :
-
Objective:
สังเกต มีไอ
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล: