Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่10การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะหลังคลอด
…
บทที่10การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะหลังคลอด
การกู้ชีพทารกแรกเกิด(Neonatal resuscitation)
-
-
-
- ขั้นตอนการช่วยเหลือขั้นต้น (Initial Steps in Stabilization)
-ให้ความอบอุ่น
วางทารกใต้เครื่องให้ความร้อนชนิดแผ่รังสี
เตรียมผ้าที่อุ่นและแห้งสำหรับห่อตัวทารกแรกเกิด และสำหรับเปลี่ยนภายหลังเช็ดตัวแล้ว
ทารกที่ไม่ต้องการการช่วยกู้ชีพ ให้วางสัมผัสกับผิวมารดา(skin-to-skin)และใช้ผ้าอุ่น ห่มคลุมไว้
กรณีที่เป็นทารกน้ำหนักตัวน้อยมาก(< 1500 กรัม) ต้องป้องกันการสูญเสีย ความร้อน ปรับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมในห้องคลอดไม่ต่ำกว่า 26 °C
– เตรียมถุงพลาสติก(food หรือ medical grade ที่มีคุณสมบัติทนความร้อน) ขนาดความจุประมาณ 1 แกลลอน ตัดก้นให้เป็นรูเพื่อใช้สวมทางศีรษะทันทีที่คลอด หรือใช้แผ่นพลาสติกที่มีคุณภาพเดียวกันวางบนเตียงเพื่อใช้ห่อตัวทารก โดยไม่ต้องเช็ดตัวทารกก่อน
- วางทารกบนแผ่นให้ความร้อน
(exothermic mattress)
- ติดตามอุณหภูมิระหว่างการช่วยกู้ชีพ โดยเฉพาะในรายที่ให้ความอบอุ่นหลายวิธี ร่วมกัน/มารดามีไข้ระหว่างการคลอด : ต้องระวังไม่ให้เกิดภาวะอุณหภูมิกายสูง เป็นอันตรายต่อเซลล์สมองในทารกที่มีภาวะขาดออกซิเจน
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งเท่าที่จำเป็น จัดทารกให้นอนหงาย ศีรษะและลำคอเงยคอเล็กน้อยในท่า “sniffing position” โดย ใช้วิธี head tilt-chin lift (ดันหน้าผากและดึงคาง)
ดูดเสมหะในปากและจมูกตามลำดับใช้ลูกยางแดงหรือสายดูดเสมหะขนาด 10 F ควรทำอย่างนุ่มนวลเพื่อหลีกเลี่ยง vagal response ซึ่งอาจทำให้ทารกหยุดหายใจ
เช็ดลำตัวและศีรษะให้แห้ง /เปลี่ยนผ้าที่เปียกออก โดยมีผ้าที่อุ่นและแห้งอีกชุดหนึ่ง รองเตรียมไว้ล่วงหน้า
-
-
-
-
-